ยารักษาความดันสูง มีอยู่หลายกลุ่ม ซึ่งแต่ละคน จะใช้ยารักษาความดันสูง แตกต่างกันออกไป เนื่องจากยาลดความดันโลหิตสูง ผลข้างเคียงมีอยู่หลายรูปแบบ บางคนมีโรคประจำตัว เช่น โรคเบาหวาน โรคไต โรคตับ ฯลฯ ดังนั้นการใช้ยารักษาความดันสูง จึงต้องอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์เท่านั้น เพราะแพทย์จะต้องพิจารณา และเลือกยารักษาความดันสูง ให้เหมาะกับผู้ป่วยแต่ละราย และ ผู้ป่วยเองก็ต้องมีความรู้ เกี่ยวกับยารักษาความดันสูง ที่ตัวเองกินอยู่ด้วยเช่นกัน เพราะต้องหมั่นสังเกตอาการตอนกินยาเข้าไป ว่าเกิดผลข้างเคียงหรือไม่ เพื่อความปลอดภัยในชีวิตนั่นเอง
ยารักษาความดันสูง ที่นิยมใช้ในการรักษา
ยารักษาความดันสูง มีประสิทธิภาพ ทำให้อาการความดันสูง ลดลงได้จริง อีกทั้งยังเห็นผลเร็ว แต่ทั้งนี้ยาลดความดันโลหิตสูง ผลข้างเคียงก็มีอยู่ไม่น้อย โดยยารักษาความดันสูง ที่นิยมใช้ในการรักษามีอยู่หลายกลุ่มด้วยกัน เช่น
1. ยารักษาความดันสูง กลุ่มยาขับปัสสาวะ (Diuretics)
ยารักษาความดันสูง กลุ่มยาขับปัสสาวะ เช่น ยาไฮโดรคลอโรธัยอาไซด์ (Hydrochlorothiazide) ยาไธอาไซด์ (Thiazide Diuretics) ยาฟูโรซีมายด์ (Furosemide) ยาอะมิโลรายด์ (Amiloride) เป็นยารักษาความดันสูง ที่ออกฤทธิ์ขับน้ำออกจากหลอดเลือด ขับโซเดียมออกจากร่างกาย ผ่านทางปัสสาวะ จึงทำให้ความดันโลหิตลดลง
ยาลดความดันโลหิตสูง ผลข้างเคียง จากยากลุ่มนี้ เช่น ปัสสาวะบ่อย อาจเกิดภาวะโพแทสเซียมต่ำ ไขมันในเลือดสูง อ่อนเพลีย กล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นต้น
2. ยารักษาความดันสูง กลุ่มยาเอซีอีอินฮิบิเตอร์ (ACE inhibitors)
ยารักษาความดันสูง กลุ่มยาเอซีอีอินฮิบิเตอร์ เช่น ยาอีนาลาพริล (Enalapril) ยารามิพริล (Ramipril) ยาเพอรินโดพริล (Perindopril) เป็นยาที่ใช้รักษาอาการความดันสูง ที่ออกฤทธิ์ยับยั้งแองจิโอเทนซินคอนเวอร์ติง (Angiotensin converting enzymes) ที่มีส่วนทำให้หลอดเลือดตีบ จนความดันโลหิตสูง ซึ่งยารักษาความดันสูง กลุ่มยาเอซีอีอินฮิบิเตอร์ จะเข้าไปยับยั้ง ทำให้หลอดเลือดคลายตัว ระบบไหลเวียนโลหิตดีขึ้น
ยาลดความดันโลหิตสูง ผลข้างเคียง จากยากลุ่มนี้ เช่น ไอแห้ง ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย ลิ้นไม่ค่อยรับรสอาหาร เป็นต้น
3. ยารักษาความดันสูง กลุ่มยับยั้งการสร้างแอนจิโอแทนซิน (Angiotensin receptor blockers)
ยารักษาความดันสูง กลุ่มยายับยั้งการสร้างแอนจิโอแทนซิน เช่น ยาแคนดีซาร์แทน(Candesartan) ยาอีโพรซาร์แทน (Eprosartan) ยาโอล์มีซาร์แทน (Olmesartan) เป็นยารักษาความดันสูง ที่ช่วยยับยั้งเอนไซม์ ป้องกันไม่ให้เส้นเลือดตีบตัว ยับยั้งโปรตีนไม่ให้จับกับเส้นเลือด ทำให้เส้นเลือดขยายตัวออก ความดันโลหิตจึงลดลง โดยยารักษาความดันสูง ห้ามใช้กับสตรีมีครรภ์
ยาลดความดันโลหิตสูง ผลข้างเคียง จากยากลุ่มนี้ เช่น ไอแห้ง ผื่นขึ้น โพแทสเซียมในเลือดสูง ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ เป็นต้น
4. ยารักษาความดันสูง กลุ่มยาปิดกั้นการไหลของแคลเซียมเข้าสู่เซลล์ (Calcium Channel Blockers)
ยารักษาความดันสูง กลุ่มยาปิดกั้นการไหลของแคลเซียมเข้าสู่เซลล์ เช่น ยาไนเฟดิปีน (Nifedipine)ยาแอมโลดิปีน (Amlodipine) ยาดิลไทอะเซม (Diltiazem) มีส่วนช่วยปิดกั้นการไหลเข้า ของแคลเซียม เข้าสู่เซลล์ ส่งผลให้หลอดเลือดขยายตัว อาการความดันสูงจึงลดลง
ยาลดความดันโลหิตสูง ผลข้างเคียง จากยากลุ่มนี้ เช่น ใจสั่น ท้องผูก วิงเวียน ปวดศีรษะ หน้าแดง ข้อเท้าบวม เป็นต้น
5. ยารักษาความดันสูง กลุ่มยาปิดกั้นเบต้า (Beta Blockers)
ยารักษาความดันสูง กลุ่มยาปิดกั้นเบต้า เช่น ยาอะทีโนลอล (Atenolol) ยาโพรพราโนลอล (Propranolol) ยาเมโตโปรลอล (Metoprolol) เป็นยารักษาความดันสูง ที่ออกฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของสารสื่อประสาท นอร์อิพิเนฟริน (Norepinephrine) และ อิพิเนฟริน (Epinephrine) ส่งผลให้อาการความดันสูงลดลงได้ แต่ห้ามใช้กับผู้ป่วยที่เป็น โรคหอบหืด ถุงลมโป่งพอง เพราะมีผลต่อปอด
ยาลดความดันโลหิตสูง ผลข้างเคียง จากยากลุ่มนี้ เช่น ซึมเศร้า เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ มือเท้าเย็น อ่อนเพลีย เป็นต้น
10 ข้อต้องรู้ ก่อนกินยารักษาความดันสูง เพื่อความปลอดภัย
- การกินยารักษาความดันสูง ต้องให้แพทย์เป็นผู้จ่ายยา และ อยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์อย่างใกล้ชิดเท่านั้น
- ยารักษาความดันสูงบางกลุ่ม ห้ามกินร่วมกัน เพราะอาจเกิดอันตรายได้
- การกินยารักษาความดันสูง ต้องกินอย่างต่อเนื่อง แม้ไม่มีอาการ เพื่อรักษาระดับความดันโลหิตให้ปกติ
- ยารักษาความดันสูง เป็นยาเคมี หากกินอย่างต่อเนื่อง ระยะยาว เสี่ยงต่อการเกิดสารเคมีสะสมในร่างกายได้
- การกินยารักษาความดันสูง ต้องกินให้ตรงเวลา ทุกวัน เพื่อให้เห็นผลการรักษา
- หากลืมกินยารักษาความดันสูงมื้อหนึ่งแล้ว หากถึงเวลามื้อถัดไป ห้ามกินยาเพิ่มเป็น 2 เท่า เพราะจะส่งผลให้ความดันโลหิตต่ำลงเกินไป และเกิดผลข้างเคียงได้
- ห้ามหยุด ลด หรือ เพิ่มปริมาณยา ด้วยตัวเองโดยเด็ดขาด เพราะจะทำให้อาการความดันสูงขึ้น หรือ ต่ำลงมากจนเกินไป และหากระดับความดันโลหิต สูงขึ้นอย่างรวดเร็ว อาจถึงขั้นหลอดเลือดสมองแตกได้ด้วย
- ห้ามบด แบ่งครึ่งเม็ดยา ละลายน้ำ หรือเคี้ยวยาเอง เพราะฤทธิ์ยาจะส่งผลต่อระดับความดันโลหิตให้ลดลงมาก อย่างรวดเร็ว
- ควรเก็บยาไว้ในอุณหภูมิห้อง และไม่แกะยาออกมาทิ้งไว้ล่วงหน้า เพราะอาจทำให้ตัวยาโดนแสงแดด และฤทธิ์ยาเสื่อมลงได้
- จำเป็นต้องปรับพฤติกรรมการกินอาหาร ปรับวิถีการดำเนินชีวิตร่วมด้วย เพราะการกินยารักษาความดันสูงอย่างเดียว จะไม่ช่วยให้เห็นผลการรักษาได้ดี
ดูแลตัวเองไม่ดี อาจมีภาวะแทรกซ้อน ความดันโลหิตสูงได้
นอกจากการกินยารักษาความดันสูงแล้ว การปรับพฤติกรรมการกินอาหาร และ ปรับวิถีการดำเนินชีวิต จะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิด ภาวะแทรกซ้อน ความดันโลหิตสูง ที่อันตรายถึงแก่ชีวิตได้ โดยภาวะแทรกซ้อน ความดันโลหิตสูง แบ่งออกเป็น 2 กรณีหลัก ได้แก่
1. ภาวะแทรกซ้อน ความดันโลหิตสูงโดยตรง ทำให้เกิดภาวะหัวใจวาย สมองขาดเลือด หรือ หลอดเลือดในสมองแตก
2. ภาวะแทรกซ้อน ความดันโลหิตสูง จากหลอดเลือดแดงตีบ หรือ ตัน จนเกิดเป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน หรือ เรื้อรัง หัวใจเต้นผิดจังหวะ โรคหลอดเลือดสมองตีบ อัมพฤกษ์ อัมพาต หลอดเลือดแดงในไตตีบ ไตวายเรื้อรัง เป็นต้น
ทำตัวอย่างไรเมื่อมีอาการความดันสูง
อย่างที่บอกไปในทุกครั้งว่า นอกจากการกินยารักษาความดันสูงแล้ว การปรับพฤติกรรมการกินอาหาร และ ปรับวิถีการดำเนินชีวิต เป็นสิ่งสำคัญ เพราะเป็นวิธี ลด ความ ดัน โลหิต สูง ที่ส่งผลต่อร่างกายอย่างลงลึก เพราะถ้าไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ต่อให้กินยารักษาความดันสูงเท่าไหร่ อาการความดันสูงก็จะยังคงอยู่กับเราไปเรื่อย ๆ หนำซ้ำอาจสูงกว่าเดิม หรือ ไม่ลดลงเลย ซึ่งวิธี ลด ความ ดัน โลหิต สูงสามารถทำได้ง่ายๆ ดังนี้
- หากน้ำหนักเกินมาตรฐาน ให้ลดน้ำหนัก เพราะน้ำหนักส่งผลต่อระดับความดันโลหิตสูง
- กินอาหาร ให้ครบทั้ง 5 หมู่ ด้วยทฤษฎี 2:1:1 คือ ผัก 2 ส่วน : ข้าว 1 ส่วน : เนื้อ 1 ส่วน
- หลีกเลี่ยงการกิน อาหารรสเค็ม หรือ ลดปริมาณโซเดียมในมื้ออาหาร ให้ไม่เกิน 1,500 มิลลิกรัม/วัน
- หลีกเลี่ยงการกิน อาหารไขมันสูง
- หลีกเลี่ยงการกิน อาหารประเภททอด
- หลีกเลี่ยงการกิน ขนมหวาน เบเกอรี่
- งดการกิน อาหารหมักดอง อาหารแปรรูป
- งดดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
- งดดื่มเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน
- งดสูบบุหรี่
- กินข้าว หรือ แป้ง ไม่ขัดสี เช่น ข้าวกล้อง ข้าวไรซ์เบอร์รี่ ธัญพืช แทนการกินข้าวขาว
- กินถั่ว เพื่อเพิ่มแมกนีเซียม ให้กับร่างกาย
- กินผัก ผลไม้ ที่มีโพแทสเซียมสูง เช่น อะโวคาโด้ มะเขือเทศ ผักโขม แตงโม กล้วย
- กินอาหาร ที่มีส่วนผสมของสมุนไพรลดความดันสูง เช่น กระเทียม ขิง กระเจี๊ยบแดง
- ออกกำลังกาย อย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อย 3 วัน/สัปดาห์ แต่ควรปรึกษาแพทย์ก่อน เพราะหากระดับความดันโลหิตสูงมากเกินไป แพทย์จะไม่แนะนำให้ใช้วิธี ลด ความ ดัน โลหิต สูง ด้วยการออกกำลังกาย
- ดื่มน้ำเปล่า 8 แก้ว/วัน
- พักผ่อนให้เพียงพอ
ยาสมุนไพรแก้ความดันสูง กินต่อเนื่องได้ ฟื้นฟูร่างกายทั้งระบบ
วิธี ลด ความ ดัน โลหิต สูงด้วยการกินยารักษาความดันสูง ไม่ได้อยู่แค่การกินยาแผนปัจจุบัน ที่เป็นยาเคมีเท่านั้น แต่การกินยาสมุนไพรแก้ความดันสูง ก็เป็นอีกหนึ่งวิธี ลด ความ ดัน โลหิต สูง ที่นิยมใช้กันมาเนิ่นนา เนื่องจากยาสมุนไพรแก้ความดันสูง เป็นการรักษาตามหลักแพทย์แผนไทย ที่อาศัยหลักธาตุทั้ง 4 คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ เป็นการรักษาแบบฟื้นฟูเซลล์ภายใน แบบค่อยเป็นค่อยไป ไม่ฝืนธรรมชาติ
ยกตัวอย่าง ยาสมุนไพรแก้ความดันสูง “ตรีผลา FORTE” จากศูนย์แพทย์แผนไทย หมออรรถวุฒิ” ที่มีผู้ซื้อซ้ำ และ บอกต่อกันมากที่สุด ยาวนานถึง 30 ปี สกัดจากสมุนไพรลดความดันสูง มากถึง 22 ชนิด เช่น
- สารสกัดสมอทั้ง 5 ได้แก่ สมอไทย สมอภิเภก สมอเทศ สมอดีงู สมอทะเล
- สารสกัดดอกคำฝอย
- สารสกัดดีปลี
- สารสกัดขิงแห้ง
- สารสกัดเจตมูลเพลิง
- สารสกัดลูกจันทร์
- สารสกัดดอกจันทร์
- สารสกัดกระวาน
- สารสกัดกานพลู
- สารสกัดทองพันชั่งดอกขาว และ ทองพันช่างดอกเหลือง ฯลฯ
ซึ่งยาสมุนไพรแก้ความดันสูง ตรีผลา FORTE ได้ผ่านกรรมวิธีการผลิต สกัดสมุนไพรลดความดันสูง ในสัดส่วนที่เหมาะสม สามารถใช้เป็นยารักษาโรคได้เพราะ “ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นยา” จึงการันตีถึงประสิทธิภาพ ในการรักษาอาการความดันสูงได้จริงนั่นเอง ผ่านเทคนิคสกัดยาเฉพาะ เพื่อให้ได้สารสำคัญในตัวยา ออกฤทธิ์ดี ครบถ้วน เป็นสูตรตำรับเฉพาะ ลิขสิทธิ์เฉพาะของศูนย์แพทย์แผนไทย หมออรรถวุฒิ ผ่านการวิจัยทางการแพทย์ ได้รับการรับรอง และ ผ่านการตรวจวิเคราะห์ความบริสุทธิ์ จาก อย. มาเรียบร้อยแล้ว ซึ่งยาสมุนไพรแก้ความดันสูง ตรีผลา FORTE จะช่วยเข้าไปรักษา อาการความดันโลหิตสูง ดังนี้
- ปรับความดันสูงสมดุลเองตามธรรมชาติ เคลียร์ทุกต้นเหตุจากข้างใน ให้ค่าความดันโลหิต ค่อยๆ ลดลง อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ต่ำเกินเกณฑ์มาตรฐาน
- ด้วยสารสกัดจากสมุนไพรลดความดันสูงออแกนิค 100% เทคนิคสกัดไม่ใช้ตัวทำละลายเคมี จึงไม่ทำให้เสี่ยงต่อสารเคมีตกค้างในร่างกาย
- สามารถกินต่อเนื่อง ระยะยาวได้ เพื่อฟื้นฟูถึงต้นเหตุของความดันสูง อย่างลงลึก ละเอียดอ่อน ดีต่อสุขภาพระยะยาว
- ช่วยเข้าไปเคลียร์ผนังหลอดเลือด แก้หลอดเลือดตีบ ทำให้ระบบไหลเวียนโลหิตดีขึ้น การรักษาความดันสูง จึงเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
- ช่วยลดคอเลสเตอรอล ระดับน้ำตาลในเลือด ไตรกลีเซอไรด์ ล้างไขมันเกาะตับ ไขมันในเลือด ไขมันอุดตันในเส้นเลือด ไม่ต้องเป็นครบทุกอย่าง หรือ ไม่ได้เป็นอะไรก็ทานได้
- ช่วยล้างเมือกมัน ตะกรันในลำไส้ ล้างพิษตับ ล้างน้ำเหลืองเสีย ขับไขมันสะสม ของเสีย พิษต่างๆ ขับออกพร้อมน้ำดี ผ่านออกมากับอุจจาระ และ ปัสสาวะ
- ลดโอกาสการเกิดภาวะแทรกซ้อน ความดันโลหิตสูง เช่น ความดันลงไต ไตวาย ความดันสูงขึ้นตา
- ช่วยเผาผลาญไขมันในร่างกาย กรณีที่น้ำหนักเกินมาตรฐาน จนทำให้เป็นความดันโลหิตสูง แต่หากผอมอยู่แล้ว จะไม่ได้ผอมไปมากกว่าเดิม เพราะเป็นการลดน้ำหนัก ตามสมดุลธรรมชาติ
- ช่วยปรับสมดุลขับถ่ายให้เป็นปกติ
- ช่วยผลข้างเคียง จากอาการความดันสูง เช่น ปวดศีรษะ สายตาพร่ามัว วิงเวียนศีรษะ
- ช่วยบำรุงปลายประสาท แขน ขา แก้อาการชาปลายมือ และ เท้า
- ลดอาการบวมน้ำ
- ช่วยทำให้ร่างกายสดชื่น กระปรี้กระเปร่า
- สามารถกินยาสมุนไพรแก้ความดันสูง คู่กับ ยารักษาความดันสูง แผนปัจจุบันได้ เพราะหากระบบภายในฟื้นฟูได้ดี ระดับความดันโลหิตลดลง จะส่งผลให้ลดปริมาณยารักษาความดัน ที่เป็นยาเคมีลงเรื่อยๆ จนดีได้เอง ไม่ต้องพึ่งยาเคมีไปตลอดชีวิต
- ช่วยแก้ผลข้างเคียง ของการทานยารักษาความดันสูง แผนปัจจุบัน ทำให้ค่าตับ ไตดีขึ้น ไม่เสื่อมเร็ว เพราะเป็นการเข้าไปฟื้นฟูระบบภายในทุกส่วนนั่นเอง
สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่นี่
หากมีข้อสงสัยใด ๆ เพิ่มเติม สามารถคอมเมนต์สอบถามได้ เรามีเภสัชกร และ ผู้เชี่ยวชาญ คอยให้คำปรึกษาทุกปัญหาสุขภาพ