รู้ก่อนรอดได้! อาการ ความดัน สูง - ต่ำ พร้อมวิธีรักษา

รู้ก่อนรอดได้! อาการ ความดัน สูง – ต่ำ พร้อมวิธีรักษา

แชร์ได้เลยค่ะ

หากวันใดวันหนึ่ง คุณไปพบแพทย์ แล้วแพทย์บอกว่า “คุณมีปัญหาเกี่ยวกับ ความดันโลหิต” ก็อย่าเพิ่งวิตกกังวลใจไปมากนัก เพราะโรคนี้ สามารถรักษา และ ควบคุม ให้ความดันโลหิตปกติได้ ซึ่งปกติแล้วอาการ ความดัน ถูกออกเป็น ความดันสูง และ ความดันต่ำ โดยเราจะมาอธิบายให้ทุกคนฟัง แบบเข้าใจง่ายๆ พร้อมถึงวิธีรักษาอาการ ความดัน เพื่อให้ทุกคนสามารถใช้ชีวิต ได้อย่างปกติด้วย

รู้หรือไม่? อาการความดันสูง หรือ ต่ำ เป็นแล้ว ไม่จำเป็นต้องกินยาเคมีเสมอไป

ความดันโลหิต คืออะไร สอนวิธีอ่านค่าอาการ ความดัน

ความดันโลหิต คือ แรงดันกระแสเลือด ที่กระทบต่อผนังหลอดเลือดแดง เกิดจากหัวใจสูบฉีดเลือด ไปเลี้ยงทั่วร่างกาย สามารถวัดค่าได้จากแขน ด้วยเครื่องวัดความดัน โดยมีการแบ่งค่าความดันโลหิต ออกเป็น 2 ค่า คือ

1. ความดันโลหิตค่าบน หรือ ค่าความดันโลหิตซีสโตลิค (Systolic blood pressure) คือ แรงดันโลหิต ในขณะที่หัวใจบีบตัวเต็มที่

2. ความดันโลหิตค่าล่าง หรือ ค่าความดันโลหิตไดแอสโตลิค (Diastolic blood pressure) คือ แรงดันโลหิต ในขณะที่หัวใจคลายตัวเต็มที่

โดยค่าความดันโลหิต จะมีการเปลี่ยนแปลง ตามอิริยาบถของเรา เช่น ขณะนอน ขณะออกกำลังกาย ขณะเครียด เป็นต้น โดยความดันโลหิตค่าบน ค่าล่าง สามารถบ่งบอกถึงอาการ ความดันปกติ และ ผิดปกติ ของร่างกายได้ ดังนี้

ความดันโลหิตที่ดี ต่ำกว่า 120 มม.ปรอท และ ต่ำกว่า 80 มม.ปรอท

ความดันโลหิตปกติ 120 – 129 มม.ปรอท และ/หรือ 80 - 84 มม.ปรอท

ความดันโลหิตปกติ ค่อนไปทางสูง		130 - 13 มม.ปรอท และ/หรือ 85 - 89 มม.ปรอท

ความ ดัน โลหิต สูง เล็กน้อย (ระดับที่ 1)	140 – 159 มม.ปรอท และ/หรือ 90 - 99 มม.ปรอท

ความ ดัน โลหิต สูง ปานกลาง (ระดับที่ 2) 160 – 179 มม.ปรอท และ/หรือ 100 - 109 มม.ปรอท

ความ ดัน โลหิต สูง มาก (ระดับที่ 3)		ตั้งแต่ 180 มม.ปรอท ขึ้นไป และ/หรือ	  	 ตั้งแต่ 110 มม.ปรอท ขึ้นไป

ดังนั้นค่าความดันโลหิตปกติของผู้ใหญ่ ค่าบนควรอยู่ประมาณ 120 – 129 มิลลิเมตรปรอท และ ค่าล่างควรอยู่ประมาณ 80 – 84 มิลลิเมตรปรอท โดยเวลาอ่านค่า จะเขียนแบบสั้นๆ เช่น 120/80 มิลลิเมตรปรอท นั่นเอง

ตอบชัด! ความดันสูง ความดันต่ำ ต่างกันอย่างไร

ความดันสูง คือ ความดันโลหิตค่าบน และ ค่าล่าง มากกว่า หรือ เท่ากับ 140/90 มม.ปรอท 
ความดันต่ำ คือ ความดันโลหิตค่าบน และ ค่าล่าง ต่ำกว่า 90/60 มม.ปรอท

ความดันโลหิต มีทั้งความดันสูง และ ความดันต่ำ ซึ่งทั้งสองอาการ ความดันนี้ มีความแตกต่างกัน ไม่ว่าจะเป็น ค่าความดัน สาเหตุของการเกิดโรค โดยเราขออธิบายให้ทุกคนเข้าใจง่ายๆ ดังนี้

ความดันสูง คือ ความดันโลหิตค่าบน มากกว่า หรือเท่ากับ 140 และ ค่าล่างมากกว่า หรือเท่ากับ 90 มิลลิเมตรปรอท (140/90 มิลลิเมตรปรอท) ซึ่งโรคความดันสูง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท

  1. ความ ดัน โลหิต สูง ชนิดไม่ทราบสาเหตุ : มักเกิดขึ้นมากกว่า 90% ของผู้ที่มีอาการ ความดัน พบบ่อยในผู้ที่มีประวัติบุคคลในครอบครัว เคยเป็นความ ดัน โลหิต สูง มาก่อน
  2. ความ ดัน โลหิต สูง ชนิดทราบสาเหตุ : ซึ่งเกิดได้หลายสาเหตุ มักเกิดจากโรคบางชนิด เช่น โรคไต โรคกรวยไตอักเสบเรื้อรัง โรคเบาหวาน การใช้ยาบางชนิด เป็นต้น

โดยสาเหตุที่ทำให้เกิด ความดันสูง เช่น

  1. พันธุกรรม หากมีคนในครอบครัว มีอาการ ความดัน สูง ยิ่งเสี่ยงต่อการเกิดโรคนี้ได้
  2. อายุที่มากขึ้น ส่งผลให้ความดันโลหิต สูงขึ้น
  3. เพศชาย ซึ่งมักพบว่า เป็นความดันสูง มากกว่า เพศหญิง
  4. น้ำหนักตัวเกินมาตรฐาน
  5. ไม่ออกกำลังกาย
  6. โรคเรื้อรังบางชนิด เช่น โรคเบาหวาน โรคไตเรื้อรัง  
  7. ชอบทานอาหารรสเค็ม
  8. สูบบุหรี่ เพราะสารพิษในควันบุหรี่ส่งผลให้เกิดการอักเสบตีบตันของหลอดเลือดต่างๆ รวมทั้งหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดไต
  9. การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เป็นประจำ มีส่วนเพิ่มโอกาส ในการเป็นโรคความ ดัน โลหิต สูง มากกว่าคนไม่ดื่มถึง 50%
  10. มีภาวะเครียดสะสม
  11. ผลข้างเคียงจากยาบางชนิด

ความดันต่ำ คือ ความดันโลหิตค่าบน ต่ำกว่า 90 และ ค่าล่างต่ำกว่า 60 มิลลิเมตรปรอท (90/60 มิลลิเมตรปรอท) ซึ่งสาเหตุความดันโลหิตต่ำ เกิดขึ้นได้หลายสาเหตุ เช่น

  1. พันธุกรรม
  2. อายุ
  3. ผลข้างเคียงจากยาบางชนิด
  4. ขาดสารอาหาร
  5. ภาวะขาดน้ำ
  6. ป่วยเป็นโรคบางชนิด เช่น โรคหัวใจ โรคโลหิตจาง โรคต่อมไร้ท่อ โรคภูมิแพ้
  7. ไม่ออกกำลังกาย
  8. การเปลี่ยนท่านั่ง ท่ายืน ท่านอนอย่างกะทันหัน   
  9. การตั้งครรภ์
  10. ลิ่มเลือดอุดตัน ในหลอดเลือดแดงของปอด
  11. ลิ้นหัวใจทำงานผิดปกติ
  12. หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ
  13. กล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแอ
  14. การขยายตัวของหลอดเลือดมากเกินปกติ
  15. อยู่ท่ามกลางแดดร้อนจัด

เช็คอาการ ความดัน คุณมีความดันสูง หรือ ต่ำ กันแน่?

หากคุณสงสัยว่าตัวเอง มีอาการ ความดัน แล้วหรือยัง ลองมาเช็คกันสักหน่อยไหม ว่าคุณมีอาการเหล่านี้หรือไม่ ถ้าหากว่าใช่ จะได้รีบหาวิธีรักษาความดันกัน

อาการ ความดันสูง เช่น
ปวดศีรษะ หรือ ปวดบริเวณท้ายทอย 
วิงเวียนศีรษะตอนตื่นนอน
เหนื่อยง่ายผิดปกติ
ใจสั่น เต้นแรง
สายตาพร่ามัว
อ่อนเพลีย
เจ็บ แน่น หน้าอก
เลือดกำเดาไหล
นอนไม่หลับ

อาการ ความดันต่ำ เช่น
ปวดศีรษะ 
วิงเวียนศีรษะ หน้ามืด
เหนื่อยง่ายผิดปกติ						
ใจสั่น เต้นแรง							
สายตาพร่ามัว
อ่อนเพลีย
เป็นลม ทรงตัวไม่อยู่ 
หายใจตื้น และ ถี่
คลื่นไส้
กระหายน้ำ
ตัวเย็น ตัวซีด
หนาวสั่น

หากคุณเช็คแล้วว่า ตัวเองมีอาการ ความดัน สูง ตามที่เราบอกไปข้างต้น จำเป็นต้องพบแพทย์ เพื่อวัดค่าความดันโลหิต ให้แน่ชัด ว่าตัวเองเป็นความดันสูงจริงหรือไม่ เพราะอาการ ความดัน สูง จำเป็นต้องรับการรักษา

แต่สำหรับใครที่เคยวัดความดันโลหิต แล้วพบว่า ตัวเองมีค่าความดันต่ำ แต่ไม่มีอาการ ความดันต่ำ แสดงออกมา ตามที่เรากล่าวมาข้างต้น ในทางการแพทย์ ยังถือว่า สุขภาพเป็นปกติดี ยังไม่จำเป็นต้องรักษา เพียงแต่หลีกเลี่ยงพฤติกรรม ที่ทำให้อาการ ความดันต่ำ กำเริบ เช่น หลีกเลี่ยงการอยู่ท่ามกลางแดดร้อนจัด ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ รับประทานอาหารให้ครบทั้ง 5 หมู่ ดื่มน้ำสะอาดให้เพียงพอ ไม่เปลี่ยนท่าลุก นั่ง ยืน เร็วเกินไป เป็นต้น

รักษาความดันสูง – ต่ำ ไม่ใช่เรื่องยาก หากรู้สิ่งนี้

หากไม่เคยตรวจสุขภาพ หรือ ไม่เคยวัดค่าความดันโลหิต คุณก็อาจไม่รู้เลยว่า ตัวเองเป็นโรคความดันสูง หรือ ความดันต่ำ อาจจะคิดว่าแค่ไม่สบายเฉยๆ จนกระทั่งเกิดโรคแทรกซ้อน ที่นำไปสู่โรคอื่นๆ ในอนาคต แต่หากเกิดอาการ ความดัน ขึ้นมาแล้ว จะทำอย่างไรล่ะ? เรามีวิธีรักษา มาบอกทุกคนกัน

ปรับพฤติกรรมตามนี้ ช่วยความดันสูง - ต่ำ ดีขึ้นแน่
ทานอาหารครบ 5 หมู่
หลีกเลี่ยงอาหารรสเค็ม
หลีกเลี่ยงอาหารไขมันสูง
ออกกำลังกาย อย่างสม่ำเสมอ 
ดื่มน้ำสะอาด 
ควบคุมน้ำหนัก 
งดดื่มแอลกอฮอล์ 
งดสูบบุหรี่

ต้องบอกก่อนเลยว่า วิธีป้องกัน วิธีรักษาความดันสูง และ วิธีรักษาความดันต่ำ จะคล้ายๆ กัน ต่างกันแค่ ตัวยารักษาความดันสูง หรือ ยารักษาความดันต่ำเท่านั้น โดยหลักแล้ว จะเน้นที่การดูแลสุขภาพทั่วไป เช่น

  • รับประทานอาหาร ให้ครบทั้ง 5 หมู่ เลี่ยงแป้งแปรรูป แป้งขัดขาว
  • หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารรสจัด โดยเฉพาะรสเค็ม
  • หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหาร ที่มีไขมันสูง
  • ออกกำลังกาย อย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อย 3 วัน/สัปดาห์
  • ดื่มน้ำสะอาด วันละ 8 แก้ว/วัน
  • ควบคุมน้ำหนัก ให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน
  • งดดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
  • งดสูบบุหรี่

ซึ่งบางคนที่มีอาการ ความดัน ไม่ว่าจะสูง หรือ ต่ำ เพียงแค่ปรับพฤติกรรม ค่าความดันโลหิตก็ดีขึ้นแล้ว แต่สำหรับใครที่อาการหนักมาก ก็จำเป็นจะต้องทานยา แต่รู้หรือไม่ว่า? การทานยารักษาความดันสูง หรือ ยารักษาความดันต่ำ ติดต่อกันนาน จะก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพได้ เพราะยาเคมีหลายตัว มีผลข้างเคียงต่อผู้ป่วยด้วย เช่น ทำให้ระดับใขมันในเลือดสูง ไอแห้ง ใจสั่น ปวดศีรษะ เป็นต้น

และหากถามว่า “มีวิธีไหน ที่จะรักษาความดันสูง หรือ รักษาความดันต่ำ แบบปลอดภัยต่อสุขภาพ โดยใช้สารสกัดธรรมชาติ มารักษา แบบไม่ต้องยุ่งยากไหม?” ตอบให้อย่างรวดเร็วเลยว่า “มี” ซึ่งวิธีนั้นก็คือ “การรับประทานยาสมุนไพร ลด ความ ดัน” นั่นเอง ซึ่งเป็นวิธีการรักษาความดันสูง และ รักษาความดันต่ำ ที่นิยมใช้กันมานาน แต่คุณจำเป็นต้องเลือกผู้ผลิตยาสมุนไพร ลด ความ ดัน ที่มีการยืนยัน และ รับรองจากทางการแพทย์ ว่าเป็นยาที่ปลอดภัย มีประสิทธิภาพในการรักษาโรคได้จริง ได้รับการรับรอง และ ผ่านการตรวจวิเคราะห์ความบริสุทธิ์ จาก อย. มาเรียบร้อยแล้ว เช่น

เอาอยู่! ดูแลทุกอาการ ความดันสูง ความดันต่ำได้
ยาสมุนไพรลดความดัน ตรีผลา FORTE 
ความดันสูง ลดลงอย่างปลอดภัย
ความดันต่ำ ปรับสมดุลให้ปกติ

ยาสมุนไพร ลด ความ ดัน “ตรีผลา FORTE” จากศูนย์แพทย์แผนไทย หมออรรถวุฒิ ที่พิถีพิถันตั้งแต่กรรมวิธีการเลือกสมุนไพร ลด ความ ดัน มาเป็นส่วนประกอบในตัวยา การเก็บเกี่ยว การใช้เทคนิคสกัดยาเฉพาะ เพื่อให้ได้สารสำคัญ ตัวยา ออกฤทธิ์ดี ครบถ้วน จนมีผู้ซื้อซ้ำ และ บอกต่อมากที่สุด ยาวนานกว่า 30 ปี โดยยาสมุนไพร ลด ความ ดัน ตรีผลา FORTE สกัดมาจากสมุนไพร ลด ความ ดัน มากถึง 22 ชนิด เช่น

  • สารสกัดสมอทั้ง 5 ได้แก่ สมอไทย สมอภิเภก สมอเทศ สมอดีงู สมอทะเล
  • สารสกัดดอกคำฝอย
  • สารสกัดดีปลี
  • สารสกัดขิงแห้ง
  • สารสกัดเจตมูลเพลิง
  • สารสกัดทองพันชั่งดอกขาว และ ทองพันช่างดอกเหลือง
  • สารสกัดลูกจันทร์
  • สารสกัดดอกจันทร์
  • สารสกัดกระวาน
  • สารสกัดกานพลู ฯลฯ

มีประสิทธิภาพ ในการป้องกัน และ ดูแลอาการ ความดัน ทั้งสูงและต่ำ อย่างลงลึกถึงต้นตอ ของโรคความดันโลหิต เช่น

  1. ช่วยปรับสมดุลความดันสูง ให้ความดันโลหิตปกติได้
  2. ผู้ที่มีความดันโลหิตต่ำ จะช่วยบำรุง ปรับสมดุลให้ความดันโลหิตปกติ พอดี ไม่ต่ำจนเกินไป 
  3. ช่วยทำให้หลอดเลือด ยืดหยุ่นได้ดี แก้หลอดเลือดตีบ ส่งผลดีต่อการลดอาการความดันสูง
  4. ช่วยในด้านความดันลงไต เป็นอย่างมาก
  5. ลดอาการ ความดัน เช่น ปวดศีรษะ วิงเวียน หน้ามืด ลมปะกัง ลมตีขึ้นเบื้องสูง
  6. ช่วยลดคอเลสเตอรอล ไตรกลีเซอไรด์ ล้างไขมันเกาะตับ ไขมันในเลือด ป้องกันไขมันอุดตันเส้นเลือด 
  7. ช่วยลดน้ำหนัก ลดหน้าท้อง ลดไขมันส่วนเกิน อย่างปลอดภัย ไร้ผลข้างเคียง ตามสมดุลธรรมชาติ เพราะสาเหตุความดันสูง ส่วนหนึ่งมาจาก น้ำหนักเกินมาตรฐานนั่นเอง ส่วนคนที่ผอมอยู่แล้ว จะไม่ได้ผอมมากขึ้น
  8. ช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือดสูง ของผู้ที่เป็นเบาหวาน และ อาจมีอาการ ความดัน พ่วงมาด้วย
  9. เคลียร์หลอดเลือดส่วนปลายที่แข็ง เพิ่มการไหลเวียนโลหิต บำรุงปลายประสาท แก้อาการชาปลายมือ และ เท้า
  10. ล้างเมือกมัน ตะกรันในลำไส้ ล้างพิษตับ ล้างน้ำเหลืองเสีย
  11. ปรับสมดุลขับถ่าย
  12. ป้องกันภาวะแทรกซ้อนของอาการ ความดัน
  13. ต้านอนุมูลอิสระ ชะลอวัย
  14. ลดอาการบวมน้ำ
  15. ไม่ต้องมีอาการ ความดัน ก็สามารถทานได้ เพราะช่วยบำรุงร่างกายทั้งระบบ ป้องกันอาการ ความดัน ได้เป็นอย่างดี

เมื่อได้กินยาสมุนไพร ลด ความ ดัน “ตรีผลา FORTE” 2 – 3 เดือนขึ้นไป แล้วไปตรวจซ้ำ จะพบว่า ผลการตรวจค่าความดัน จะดีขึ้นตามลำดับ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่นี่

หากมีข้อสงสัยใด ๆ เพิ่มเติม สามารถคอมเมนต์สอบถามได้ เรามีเภสัชกร และ ผู้เชี่ยวชาญ คอยให้คำปรึกษาทุกปัญหาสุขภาพ


แชร์ได้เลยค่ะ

Leave a Comment

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

Scroll to Top