ปล่อยความดันสูงเรื้อรัง ระวัง! ภาวะแทรกซ้อน ความดันโลหิตสูง อันตรายมาก

ปล่อยความดันสูงเรื้อรัง ระวัง! ภาวะแทรกซ้อน ความดันโลหิตสูง อันตรายมาก

แชร์ได้เลยค่ะ

อาการความดันสูงเป็นอย่างไร? อาการความดันสูง เป็นอาการที่ค่าความดันโลหิต สูงมากกว่า หรือ เท่ากับ 140/90 (มิลลิเมตรปรอท) ขึ้นไป หากค่าความดันโลหิตสูงมาก ก็จะยิ่งอันตรายมาก เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน ความดันสูง และ อันตรายต่อชีวิตอีกด้วย ซึ่งการจะทราบว่า ตนเองมีความดันสูงหรือไม่ จำเป็นต้องใช้เครื่องวัดความดัน หากพบว่า ตนเองมีความดันสูงจริง จำเป็นอย่างยิ่ง ที่ต้องได้รับการรักษา และหาวิธี ลด ความ ดัน โลหิต สูง ให้กลับสู่สภาวะปกติ

ไม่อยากเกิดภาวะแทรกซ้อน ความดันโลหิต อย่าปล่อยให้ความดันสูง เรื้อรัง

5 ภาวะแทรกซ้อน ความดันโลหิตสูง ที่ต้องระวัง

5 ภาวะแทรกซ้อน ความดันโลหิตสูง ที่ต้องระวัง
1. ภาวะสมองขาดเลือด 
2. เบาหวาน 
3. ความดันโลหิตสูงขึ้นจอประสาทตา 
4. ไตวาย
5. ภาวะหัวใจล้มเหลว

อาการความดันสูง หากไม่รักษา จะส่งผลกระทบต่ออวัยวะหลายส่วนในร่างกาย ไม่ว่าจะเป็น หลอดเลือดแดง ดวงตา หัวใจ ไต สมอง ซึ่งก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อน ความดันโลหิตสูงอื่นๆ ตามมา และเป็นอันตรายต่อชีวิตอย่างยิ่ง อาทิ

1. ภาวะสมองขาดเลือด เป็นภาวะแทรกซ้อน ความดันโลหิตสูงทางสมอง เกิดจากเส้นเลือดแดงอุดตัน จนทำให้หัวใจ ไม่สามารถสูบฉีดเลือด และนำเลือดไปเลี้ยงสมองได้ ส่งผลให้สมองขาดออกซิเจน เซลล์สมองตาย ยิ่งความดันหลอดเลือดสูงมากเท่าไหร่ ยิ่งเสี่ยงต่อการเกิดอัมพฤกษ์ อัมพาต และ อาการเส้นเลือดในสมองแตกอีกด้วย  

2. เบาหวาน เป็นภาวะแทรกซ้อน ความดันโลหิตสูง มีความเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน เนื่องจากความดัน เบาหวาน มักมาพร้อมกันเสมอ ยิ่งความดันสูงมากเท่าไหร่ ความสามารถในการขยายตัวของหลอดเลือด ก็จะยิ่งลดลง ทำให้ร่างกายจัดการกับอินซูลินได้ไม่ดีพอ โรคเบาหวานจึงไม่หายไป เมื่อมีอาการความดันสูงนั่นเอง ดังนั้นจำเป็นต้องรักษาความดัน เบาหวานถึงจะดีขึ้นตามลำดับ

3. ความดันโลหิตสูงขึ้นจอประสาทตา เป็นภาวะแทรกซ้อน ความดันโลหิตสูงทางดวงตา เกิดจากอาการความดันสูง จนทำให้เส้นเลือดแดงฝอย ในจอประสาทตาตีบแคบ จะเป็นมาก หรือ น้อย ก็ขึ้นอยู่กับค่าความดัน มีผลทำให้สายตาพร่ามัว เห็นภาพซ้อน จอประสาทตา และ ขั้วประสาทตาบวม บางรายถึงขั้นมีเลือดออก 

4. ไตวาย เป็นภาวะแทรกซ้อน ความดันโลหิตสูง ที่อันตรายมาก เพราะยิ่งปล่อยให้ระดับความดันสูงมากเท่าไหร่ ก็ยิ่งมีผลต่อไตมากเท่านั้น เนื่องจากแรงดันในกลุ่มหลอดเลือดฝอยในไต ที่ทำหน้าที่กรองของเสีย กรองปัสสาวะ ได้รับอันตราย เกิดการรั่วของโปรตีนออกมาในปัสสาวะมากขึ้น เกิดการอักเสบในไต ทำให้ไตวายเฉียบพลัน หรือ ไตวายเรื้อรังได้

5. ภาวะหัวใจล้มเหลว เป็นภาวะแทรกซ้อน ความดันโลหิตสูง ที่เกิดจากเยื่อหุ้มหัวใจผิดปกติ เพราะโดยปกติแล้ว หัวใจจะสูบฉีดเลือด เพื่อต้านแรงดันในหลอดเลือด จากความดันโลหิตสูงขึ้น เมื่อเกิดความผิดปกติ กล้ามเนื้อหัวใจจึงทำงานหนัก กล้ามเนื้อหัวใจมีความหนาขึ้น หัวใจโตขึ้น การสูบฉีดเลือดจึงยากขึ้น ทำให้หัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือด ไปเลี้ยงทั่วทั้งร่างกายได้อย่างเต็มที่ เมื่ออาการหนักมาก หัวใจจะไม่สามารถรับเลือด กลับเข้าสู่หัวใจได้ตามปกติ เกิดเป็นภาวะหัวใจล้มเหลวนั่นเอง

จะเห็นได้ว่า แค่อาการความดันสูงธรรมดา ส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อน เป็นโรคต่างๆ ที่อันตรายต่อชีวิตอย่างไม่น่าเชื่อ ดังนั้นคุณจำเป็นต้องตรวจสุขภาพประจำปี เพื่อให้รู้ชัดเจนว่า ตัวเองเป็นโรคความดันสูงแล้วหรือยัง หากเป็นแล้วให้รีบรักษา ก่อนที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อน ความดันสูงได้

อาการความดันสูงเป็นอย่างไร

อาการความดันสูง แบ่งออกเป็น 3 ระดับ

ระดับที่ 1 ความดันสูงเล็กน้อย
ค่าความดันสูง ระหว่าง 140 – 159/90 – 99 มิลลิเมตรปรอท

ระดับที่ 2 ความดันสูงปานกลาง
ค่าความดันสูง ระหว่าง 160 – 179/100 – 109 มิลลิเมตรปรอท

ระดับที่ 3 ความดันสูงมาก
ค่าความดันสูง มากกว่า 180/110 ขึ้นไป

รู้หรือไม่? อาการความดันสูง เป็นภัยเงียบของชีวิต เพราะหลายคนเป็นแล้วมักไม่รู้ตัว ซึ่งคนที่ไม่เคยเป็นความดันสูง ก็คงไม่ทราบว่า อาการความดันสูงเป็นอย่างไร เนื่องจากแบ่งออกเป็น 3 ระดับ ดังนี้

ระดับที่ 1 ความดันสูงเล็กน้อย : ค่าความดันสูง ระหว่าง 140 – 159/90 – 99 มิลลิเมตรปรอท

ระดับที่ 2 ความดันสูงปานกลาง : ค่าความดันสูง ระหว่าง 160 – 179/100 – 109 มิลลิเมตรปรอท

ระดับที่ 3 ความดันสูงมาก : ค่าความดันสูง มากกว่า 180/110 ขึ้นไป

โดยเราขอแนะนำเทคนิค การสังเกตอาการความดันสูง ด้วยตัวเองง่ายๆ ดังนี้

  1. ปวดศีรษะ โดยเฉพาะบริเวณท้ายทอย
  2. ได้ยินเสียงแว่วในหู
  3. วิงเวียนศีรษะ โดยเฉพาะตอนตื่นนอน
  4. เหนื่อยง่ายผิดปกติ
  5. ชีพจรเต้นผิดปกติ ใจสั่น ใจเต้นแรง หรือ หัวใจเต้นอ่อนลง
  6. สายตาพร่ามัว มองเห็นภาพซ้อน
  7. รู้สึกอ่อนเพลีย
  8. เจ็บ หรือ แน่นหน้าอก หายใจไม่ออก
  9. เลือดกำเดาไหล             
  10. นอนไม่หลับ

ทั้งนี้อาการที่ความดันสูง ที่แสดงออกมาของแต่ละคน จะแตกต่างกันไป ดังนั้นไม่จำเป็นต้องเป็นครบทุกข้อ ก็สามารถไปปรึกษาแพทย์ เพื่อหาวิธี ลด ความ ดัน โลหิต สูง และ รักษาความดันสูงได้

เผยวิธี ลด ความ ดัน โลหิต สูง ทำได้หลายอย่าง

มาลดความเสี่ยงในการเกิดภาวะแทรกซ้อน ความดันโลหิตสูงกันเถอะ! ซึ่งวิธี ลด ความ ดัน โลหิต สูงนั้นง่ายมาก เพียงแค่ปรับพฤติกรรมการทานอาหาร และ การใช้ชีวิตประจำวัน ซึ่งแพทย์ก็แนะนำให้ผู้ป่วยปฏิบัติตามนี้ ควบคู่ไปกับการกินยารักษา ความดันโลหิตสูงด้วย เพราะหากไม่ทำตามนี้ อย่างไรแล้วอาการความดันโลหิตสูง ก็จะอยู่กับคุณตลอดไปอย่างแน่นอน

  1. ลดน้ำหนัก ให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน เพราะสาเหตุของความดันสูง ส่วนหนึ่งมาจากน้ำหนักเกิน
  2. รับประทานอาหาร ให้ครบทั้ง 5 หมู่ ด้วยการใช้ทฤษฎี 2:1:1 คือ ผัก 2 ส่วน : ข้าว 1 ส่วน : โปรตีน 1 ส่วน
  3. หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารรสเค็ม หรือ ลดปริมาณโซเดียมในมื้ออาหาร โดยจำกัดปริมาณโซเดียม ไม่เกิน 1,500 มิลลิกรัม/วัน  
  4. หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหาร ประเภทที่มีไขมันสูง เช่น เนื้อสัตว์ติดมัน
  5. หลีกเลี่ยงอาหารประเภททอด
  6. หลีกเลี่ยงการรับประทานขนมหวาน เบเกอรี่ อาหารกึ่งสำเร็จรูป
  7. งดอาหารหมักดอง และ อาหารแปรรูปทุกชนิด เช่น ผักดอง ผลไม้ดอง ปลาร้า หมูยอ หมูแผ่น
  8. รับประทานข้าว หรือ แป้ง ไม่ขัดสี เช่น ข้ามกล้อง ข้าวไรซ์เบอร์รี่ ธัญพืช
  9. รับประทานถั่ว เพื่อเพิ่มแมกนีเซียม ให้กับร่างกาย
  10. รับประทานผัก และ ผลไม้ ที่มีโพแทสเซียมสูง เช่น ผักโขม อโวคาโด้ มะเขือเทศ แตงโม กล้วย
  11. ออกกำลังกาย อย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อย 3 วัน/สัปดาห์ ทั้งนี้ก่อนออกกำลังกาย ให้ปรึกษาแพทย์ เพื่อประเมินความเสี่ยง เพราะหากมีอาการความดันสูงมาก ก็จำเป็นต้องรักษาความดันสูง ให้อยู่ในระดับที่สามารถออกกำลังกายได้
  12. ดื่มน้ำสะอาด วันละ 8 แก้ว/วัน
  13. บำรุงสุขภาพ ด้วยอาหารที่ทำจากสมุนไพร รักษา โรค ความ ดัน สูง เช่น กระเทียม ขิง กระเจี๊ยบแดง
  14. งดดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
  15. งดดื่มเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน
  16. งดสูบบุหรี่
  17. พักผ่อนให้เพียงพอ

ยารักษา ความดันโลหิตสูง มีผลข้างเคียงหรือไม่

ยารักษาความดันโลหิตสูง มีผลข้างเคียง 
ต้องปรึกษาแพทย์ ก่อนทาน เพราะบางคนไม่ต้องทาน แค่ปรับพฤติกรรมการทานอาหาร ก็ดีขึ้นได้

การทานยารักษา ความดันโลหิตสูง จำเป็นต้องปรึกษาแพทย์ หรือ เภสัชกร ก่อนทาน เนื่องจากยารักษา ความดันโลหิตสูงมีผลข้างเคียง อีกทั้งผู้ป่วยแต่ละราย มีค่าความดันสูงไม่เท่ากัน จำเป็นต้องหาสาเหตุให้แน่ชัดว่า เป็นความดันสูงจากสาเหตุอะไรด้วย เพราะผู้ป่วยบางราย อาจมีอาการความดันสูงเพียงเล็กน้อย เพียงแค่ปรับพฤติกรรมการทานอาหาร และ การใช้ชีวิต ก็ดีขึ้นแล้ว หรือบางคนเป็นความดัน เบาหวาน มีภาวะแทรกซ้อน ความดันโลหิตสูงร่วมด้วย ก็จะมีการใช้ยารักษา ความดันโลหิตสูงแตกต่างกันไป โดยยาที่นิยมใช้รักษาความดันสูง เช่น

1. กลุ่มยาขับปัสสาวะ (Diuretics)

เป็นยารักษา ความดันโลหิตสูง ที่ช่วยขับโซเดียมส่วนเกิน และ น้ำออกจากร่างกาย ส่งผลต่อการทำงานของไต ทำให้ปัสสาวะบ่อย เช่น ยาไฮโดรคลอโรธัยอาไซด์ (Hydrochlorothiazide) ยาไธอาไซด์ (Thiazide Diuretics) ยาฟูโรซีมายด์ (Furosemide) ยาอะมิโลรายด์ (Amiloride) เป็นต้น โดยผลข้างเคียงของยารักษา ความดันโลหิตสูงกลุ่มนี้ เช่น ระดับโพแทสเซียมในเลือดผิดปกติ ร่างกายขาดน้ำ ระดับไขมันในเลือดสูง

2. กลุ่มยาขยายเส้นเลือดแดง (Vasodilators)

เป็นยารักษา ความดันโลหิตสูง ที่ช่วยให้เส้นเลือดขยายตัว ป้องกันการหดตัวของหลอดเลือดด้วย พร้อมลดอาการความดันสูงโดยตรง เช่น ยาไฮดราลาซีน (Hydralazine) ยาไมนอกซิดิล (Minoxidil) เป็นต้น โดยผลข้างเคียงของยารักษา ความดันโลหิตสูงกลุ่มนี้ เช่น ใจสั่น ปวดศีรษะ หน้าแดง

3. กลุ่มยาปิดกั้นการไหลของแคลเซียมเข้าสู่เซลล์ (Calcium Channel Blockers)

เป็นยารักษา ความดันโลหิตสูง ที่ช่วยให้กล้ามเนื้อที่หลอดเลือดคลายตัว นำไปสู่การขยายตัวของหลอดเลือด ส่งผลให้อาการความดันสูงลดลง เช่น ยาแอมโลดิปีน (Amlodipine) ยาดิลไทอะเซม (Diltiazem) เป็นต้น โดยผลข้างเคียงของยารักษา ความดันโลหิตสูงกลุ่มนี้ เช่น ใจสั่น ปวดศีรษะ ข้อเท้าบวม ท้องผูก

ทั้งนี้การรับประทานยารักษา ความดันโลหิตสูง จำเป็นต้องทานอย่างสม่ำเสมอ และต่อเนื่องตามที่แพทย์กําหนด ห้ามปรับ เปลี่ยน หรือ ลดยาเองเด็ดขาด เพราะจะเกิดผลข้างเคียงตามมา พร้อมทั้งต้องวัดความดันโลหิตเป็นระยะด้วย

ยาสมุนไพรลดความดัน ตัวช่วยสำคัญ รักษาความดันสูง แบบยั่งยืน

หลายคนพอทราบว่ายารักษา ความดันโลหิตสูง ที่เป็นยาแผนปัจจุบัน ส่งผลข้างเคียงกับร่างกาย ก็อาจจะรู้สึกหวั่นใจในการรับประทาน ดังนั้นยาสมุนไพรลดความดัน จึงเป็นหนึ่งในทางเลือกของผู้ที่ต้องการรักษาความดันสูง เนื่องจากเป็นสารสกัดจากสมุนไพรธรรมชาติ โดยเฉพาะยาสมุนไพรลดความดัน “ตรีผลา FORTE” จากศูนย์แพทย์แผนไทย หมออรรถวุฒิ ยาสมุนไพรลดความดัน ที่มีประสิทธิภาพในการรักษาภาวะแทรกซ้อน ความดันโลหิตสูงได้ด้วย

เลิกเสี่ยงกับสารเคมีตกค้างในร่างกาย
รักษาภาวะแทรกซ้อน ความดันโลหิตสูงได้ด้วยยาสมุนไพรลดความดัน ตรีผลา FORTE หมออรรถวุฒิ สกัดสมุนไพรไทย 100% มากถึง 22 ชนิด

ยาสมุนไพรลดความดัน ตรีผลา FORTE เป็นยาสมุนไพร รักษา โรค ความ ดัน สูง ที่ได้รับความไว้นิยม และ ความไว้วางใจของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง จนมีผู้ซื้อซ้ำ และ บอกต่อมากที่สุด มีการยืนยัน และ รับรองจากทางการแพทย์ ว่าปลอดภัย มีประสิทธิภาพในการรักษาความดันสูงได้จริง ไม่ใช่อาหารเสริม ได้รับการรับรอง และ ผ่านการตรวจวิเคราะห์ความบริสุทธิ์ จาก อย. มาเรียบร้อยแล้ว พิถีพิถันตั้งแต่กรรมวิธีการเลือกสมุนไพรลดความดันสูง มาเป็นส่วนประกอบในตัวยา การเก็บเกี่ยว การใช้เทคนิคสกัดยาเฉพาะ เพื่อให้ได้สารสำคัญ ตัวยา ออกฤทธิ์ดี ครบถ้วน ทั้งนี้ยาสมุนไพรลดความดัน ตรีผลา FORTE ประกอบไปด้วยสารสกัดจาก สมุนไพร รักษา โรค ความ ดัน สูง ที่เป็นสมุนไพรไทย มากถึง 22 ชนิด เช่น

  • สารสกัดสมอทั้ง 5 ได้แก่ สมอไทย สมอภิเภก สมอเทศ สมอดีงู สมอทะเล
  • สารสกัดดอกคำฝอย
  • สารสกัดดีปลี
  • สารสกัดขิงแห้ง
  • สารสกัดเจตมูลเพลิง
  • สารสกัดทองพันชั่งดอกขาว และ ทองพันช่างดอกเหลือง
  • สารสกัดลูกจันทร์
  • สารสกัดดอกจันทร์
  • สารสกัดกระวาน
  • สารสกัดกานพลู ฯลฯ

นับว่าอัดแน่นไปด้วยประสิทธิภาพของสารสกัดสมุนไพรไทย ที่ช่วยรักษาความดันสูง อย่างยั่งยืน เพราะครอบคลุมทั้งร่างกาย ลงลึกถึงต้นเหตุของอาการความดันสูง และ ภาวะแทรกซ้อน ความดันโลหิตสูงหลายโรคด้วย เช่น

  1. ลดคอเลสเตอรอล ไตรกลีเซอไรด์ ล้างไขมันเกาะตับ ไขมันในเลือด ป้องกันไขมันอุดตันในเส้นเลือด ซึ่งมีผลต่อภาวะแทรกซ้อน ความดันโลหิตสูง
  2. ขับน้ำดี ขับไขมันสะสม ของเสีย น้ำตาลส่วนเกิน พิษต่างๆ ออกทางท่อน้ำดี พร้อมกับ น้ำดี ผ่านออกทางอุจาระ และ ปัสสาวะ
  3. ป้องกันภาวะแทรกซ้อน ความดันโลหิตสูง เช่น ความดันลงไต ไตวาย ความดันโลหิตสูงขึ้นจอประสาทตา
  4. ลดระดับน้ำตาลในเลือด ของผู้ที่มีอาการความดัน เบาหวาน
  5. ปรับสมดุลความดันสูง ให้ลดลง จนกลายเป็นปกติ
  6. ฟื้นฟูหลอดเลือด ช่วยทำให้หลอดเลือด ยืดหยุ่นได้ดีขึ้น แก้หลอดเลือดตีบ ส่งผลให้ค่าความดันลดลง
  7. เคลียร์หลอดเลือดส่วนปลายที่แข็ง ให้เกิดการไหลเวียนโลหิตดีขึ้น
  8. ช่วยลดอาการความดันสูง เช่น อาการปวดศีรษะ วิงเวียน หน้ามืด ลมปะกัง ลมตีขึ้นเบื้องสูง
  9. ช่วยเผาผลาญไขมันในร่างกาย ลดน้ำหนัก ลดหน้าท้อง ลดไขมันส่วนเกิน สำหรับคนที่มีอาการความดันสูง เพราะน้ำหนักเกิน ส่วนคนที่ผอมอยู่แล้ว จะไม่ได้ผอมมากขึ้น เพราะเป็นการลดน้ำหนัก อย่างปลอดภัย ไร้ผลข้างเคียง ตามสมดุลธรรมชาติ
  10. ล้างเมือกมัน ตะกรันในลำไส้ ล้างพิษตับ ล้างน้ำเหลืองเสีย
  11. บำรุงปลายประสาท แขน ขา มีแรงมากขึ้น
  12. แก้อาการชาปลายมือ และ เท้า
  13. ปรับสมดุลขับถ่าย
  14. ต้านอนุมูลอิสระ ชะลอวัย
  15. ลดอาการบวมน้ำ
  16. ช่วยทำให้สดชื่น กระปรี้กระเปร่า
  17. ไม่ต้องเป็นความดันสูง ก็สามารถทาน เพื่อบำรุงสุขภาพ และ ป้องกันอาการความดันสูงได้

สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่นี่

หากมีข้อสงสัยใด ๆ เพิ่มเติม สามารถคอมเมนต์สอบถามได้ เรามีเภสัชกร และ ผู้เชี่ยวชาญ คอยให้คำปรึกษาทุกปัญหาสุขภาพ


แชร์ได้เลยค่ะ

Leave a Comment

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

Scroll to Top