อยากหายต้องรู้! ความดันสูง ออกกำลังกาย ช่วยได้จริง

อยากหายต้องรู้! ความดันสูง ออกกำลังกาย ช่วยได้จริง

แชร์ได้เลยค่ะ

ความดันสูง ออกกำลังกายได้ไหม? เชื่อว่าผู้เป็นความดันสูงหลายคน คงสงสัยในประเด็นนี้ เพราะอาจจะกลัวว่า หากออกกำลังกาย ความดันโลหิตสูง จะทำให้เส้นเลือดแตก เป็นลม หัวใจเต้นแรงเกินไปหรือไม่ เราขอตอบว่า “เป็นความดันสูง ออกกำลังกายได้ และ ควรทำเป็นอย่างยิ่ง” เพราะนี่คือหนึ่งวิธี รักษาความดันสูง โดยไม่ใช้ยา และ สามารถปรับค่าความดันโลหิต ให้กลับสู่สภาวะปกติได้ แต่ก่อนออกกำลังกาย จำเป็นต้องรู้ถึงเทคนิคต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น กิจกรรมการออกกำลังกายแบบที่เหมาะสมกับผู้ที่มีความดันสูง ค่าความดันโลหิตที่แพทย์อนุญาตให้ออกกำลังกายได้ โดยไม่เป็นอันตราย รวมไปถึงข้อห้ามต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เป็นความดันสูง ออกกำลังกายได้อย่างปลอดภัยนั่นเอง

เป็นความดันสูง ออกกำลังกายได้ ควรทำเป็นประจำ อย่างน้อย 3 วัน/สัปดาห์ แต่ถ้าความดันสูงเกิน 180/110 มิลลิเมตรปรอท ให้ปรึกษาแพทย์ก่อน

7 เหตุผล ที่เป็นความดันสูง ออกกำลังกาย แล้วดีขึ้น

7 เหตุผล ที่เป็นความดันสูง ออกกำลังกายแล้วดีขึ้น
1. ร่างกายเกิดการเผาผลาญ ทำให้น้ำหนักลดลง ค่าความดันจึงลดลง 
2. ระบบไหลเวียนโลหิตดีขึ้น ค่าความดันโลหิตดีขึ้นตาม 
3. ลดปริมาณไขมันสะสมในหลอดเลือด  
4. อาการความดันสูง เช่น ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ ดีขึ้นตาม
5. สดชื่น สุขภาพจิตดี เพราะความเครียดเป็นเหตุให้ความดันสูง
6. ลดปริมาณการทานยารักษาความดันสูงได้ 
7. ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเกี่ยวกับความดัน เช่น โรคหัวใจ หลอดเลือดสมองตีบ เบาหวาน

อย่างที่กล่าวไปว่า เมื่อเป็นความดันสูง ออกกำลังกาย เป็นหนึ่งในวิธีรักษาความดันสูง โดยไม่ใช้ยา ที่สามารถทำให้ค่าความดันโลหิตต่ำลงได้ และนี่คือ 7 เหตุผล ที่คนเป็นความดันสูง ควรหันมาออกกำลังกายเป็นประจำ

  1. สาเหตุหนึ่งของการเป็นความดันสูง เกิดจาก การมีน้ำหนักเกินมาตรฐาน ดังนั้นเมื่อเป็นความดันสูง ออกกำลังกายเมื่อไหร่ ร่างกายก็จะเกิดการเผาผลาญ ทำให้น้ำหนักลดลงได้นั่นเอง ส่วนคนที่ความดันโลหิตปกติ หากออกกำลังกายเป็นประจำ ก็ช่วยลดโอกาสเสี่ยง ในการเป็นความดันสูงได้
  2. เมื่อเป็นความดันสูง ออกกำลังกายแล้ว จะทำให้เส้นเลือดเกิดการยืดหยุ่น เลือดสูบฉีด ทำให้ระบบไหลเวียนโลหิตดีขึ้น ค่าความดันโลหิต ก็ดีขึ้นตาม
  3. ความดันสูง ออกกำลังกายแล้ว ช่วยทำให้ปริมาณไขมันสะสมในหลอดเลือด ลดน้อยลง
  4. เมื่อเป็นความดันสูง อาการที่แสดงออก เช่น ปวดศีรษะ วิงเวียนศีรษะ อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ ก็จะดีขึ้นตามไปด้วย
  5. ร่างกายสดชื่น กระปรี้กระเปร่า สุขภาพจิตดี เพราะเป็นหนึ่งในวิธีผ่อนคลายจากความเครียด ซึ่งความเครียดก็เป็นหนึ่งในสาเหตุ ที่ทำให้ความดันสูงได้เช่นกัน
  6. ช่วยลดปริมาณการทาน ยารักษาความดันสูงได้ เพราะเมื่อค่าความดันโลหิตลดลง เราก็สามารถลด หรือ เลิกกินยารักษาความดันสูงบางตัวได้
  7. เมื่อออกกำลังกาย ความดันโลหิตสูง และ ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกัน จะลดน้อยลงไปด้วย เช่น โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมองตีบ โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ โรคเบาหวาน เป็นต้น

สิ่งที่ต้องระวัง เมื่อออกกำลังกาย ความดันโลหิตสูง

สิ่งที่ต้องระวัง เมื่อออกกำลังกาย ความดันโลหิตสูง
1. ความดันสูงเกิน 180/110 มิลลิเมตรปรอท ต้องปรึกษาแพทย์ก่อน 
2. ก่อนออกกำลังกาย หากความดันสูงเกิน 180/110 มิลลิเมตรปรอท ขึ้นไป ให้งดออกกำลังกายไปก่อน
3. มีโรคประจำตัวอื่นร่วมด้วย ให้ปรึกษาแพทย์ก่อน
4. จดบันทึก ระดับความดันโลหิต ก่อน – หลัง ออกกำลังกายทุกครั้ง 
5. ออกกำลังกาย หลังมื้ออาหาร 2 ชั่วโมง
6. สวมเสื้อผ้า ที่ระบายอากาศได้ดี 
7. ไม่ออกกำลังกาย ท่ามกลางอากาศร้อนจัด
8. อบอุ่นร่างกายก่อน ประมาณ 10 – 15  นาที 
9. ออกกำลังกาย แบบมีแรงต้าน เช่น ยกดัมเบล ห้ามกลั้นหายใจ  
10. ไม่ออกกำลังกาย ที่ใช้ท่าเกร็งค้างนาน เช่น ท่าแพลงก์ 
11. ระยะเวลาออกกำลังกาย ที่เหมาะสม คือ 30 – 60 นาที
12.	ออกกำลังกาย ประมาณ 3 - 5 วัน/สัปดาห์ 
13.	หากหน้ามืด วิงเวียน เหนื่อยหอบ ใจเต้นผิดปกติ ขณะออกกำลังกาย ให้หยุดพัก 
14. ห้ามหยุดออกกำลังกายกะทันหัน ต้องค่อย ๆ คูลดาวน์ 
15. พักผ่อนให้เพียงพอ ก่อนออกกำลังกาย

ไม่ใช่ทุกคนที่เป็นความดันสูง ออกกำลังกายได้ เพราะหากความดันสูงมาก ก็จำเป็นต้องปรึกษาแพทย์ เพื่อตรวจร่างกาย และ ประเมินความเสี่ยงก่อน และจำเป็นต้องรักษาความดันสูง ให้อยู่ในเกณฑ์ที่ไม่เป็นอันตราย ต่อการออกกำลังกายด้วย รวมไปถึงต้องระมัดระวังสิ่งต่างๆ ดังต่อไปนี้

  1. หากความดันสูง ระดับที่ 3 คือ เทียบเท่า หรือ เกิน 180/110 มิลลิเมตรปรอทขึ้นไป จำเป็นต้องปรึกษาแพทย์ ก่อนออกกำลังกาย
  2. ก่อนออกกำลังกาย หากวัดความดันโลหิตแล้ว เทียบเท่า หรือ สูงเกิน 180/110 มิลลิเมตรปรอทขึ้นไป ให้งดออกกำลังกายไปก่อน
  3. หากเป็นความดันสูง มีประวัติเป็นโรคหัวใจ เบาหวาน หรือ มีโรคประจำตัวร่วมด้วย ให้ปรึกษาแพทย์ ก่อนออกกำลังกาย ว่าสามารถทำได้หรือไม่ เพราะมีผลต่อค่าความดันสูง อาการอื่นๆ อีกด้วย
  4. จดบันทึก ระดับความดันโลหิต ก่อน – หลัง ออกกำลังกายทุกครั้ง ว่าค่าความดันสูงเท่าไหร่ ระยะเวลาที่ใช้ในการออกกำลังกายแต่ละครั้งนานกี่นาที กีฬา หรือ ท่าออกกำลังกายท่าใด ที่คิดว่าเหมาะกับตนเอง ร่างกายสามารถทนต่อความหนัก หรือ แรงต้านทาน ได้มากน้อยแค่ไหน เป็นต้น
  5. ออกกำลังกาย หลังมื้ออาหาร ประมาณ 2 ชั่วโมง
  6. สวมเสื้อผ้า ที่สามารถระบายอากาศได้ดี
  7. ไม่ออกกำลังกาย ท่ามกลางสภาพอากาศร้อนจัด
  8. อบอุ่นร่างกาย ก่อนออกกำลังกาย  ประมาณ 10 – 15  นาที เพื่อให้กล้ามเนื้อยืดหยุ่น ป้องกันการบาดเจ็บ พร้อมทั้งให้เลือดหมุนเวียน ไปยังอวัยวะส่วนอื่น ๆ เช่น ปอด หัวใจ ได้อย่างเต็มที่ 
  9. ขณะออกกำลังกาย แบบมีแรงต้าน เช่น ยกดัมเบล ห้ามกลั้นหายใจ  และ ต้องเปลี่ยนท่าช้า ๆ เพื่อป้องกันค่าความดันโลหิตตกเฉียบพลัน
  10. ไม่ควรออกกำลังกาย ที่ต้องใช้ท่าเกร็งค้างนาน เช่น ท่าแพลงก์ ท่าโยคะที่ศีรษะต่ำกว่าตัว ท่าซิทอัพ
  11. ระยะเวลาออกกำลังกาย ที่เหมาะสม คือ 30 – 60 นาที
  12. เป็นความดันสูง ออกกำลังกาย ประมาณ 3 – 5 วัน/สัปดาห์ ครั้งละประมาณ 30 – 60 นาที และ ควรออกกำลังกายในเวลาเดิม ของทุกๆ วัน หากออกกำลังกายได้ทุกวันยิ่งดี เพราะจะส่งผลให้ความดันโลหิตปกติ ได้เร็วยิ่งขึ้น
  13. หากความดันสูง อาการหน้ามืด วิงเวียนศีรษะ เหนื่อยหอบ ใจเต้นผิดปกติ ขาล้า ในขณะออกกำลังกาย ให้หยุดพักออกกำลังกาย
  14. ขณะออกกำลังกาย ห้ามหยุดแบบกะทันหัน ต้องค่อย ๆ ผ่อนแรง หรือ คูลดาวน์ (Cool down) ประมาณ 5 – 10 นาที เพื่อให้ร่างกายค่อยๆ ปรับตัว ป้องกันอาการหน้ามืด วิงเวียนศีรษะ ระบบหัวใจล้มเหลว เป็นต้น
  15. พักผ่อนให้เพียงพอ ก่อนออกกำลังกาย

ความดันสูง ออกกำลังกายด้วย 5 กิจกรรมนี้ ดีขึ้นแน่

การออกกำลังกาย ความดันโลหิตสูง ที่เหมาะสม คือ การออกกำลังกายแบบแอโรบิก (Aerobic Exercise) โดยเน้นการใช้กล้ามเนื้อเป็นหลัก อาศัยการหายใจเข้า – ออกเยอะ และ ใช้ระยะเวลาในการออกกำลังกายนาน ด้วยรูปแบบการออกกำลังกายที่ไม่หนักมากจนเกินไป นอกจากการออกกำลังกาย ความดันโลหิตสูงแบบแอโรบิกแล้ว ควรสลับกับการออกกำลังแบบมีแรงต้าน (Resistance Exercise) ด้วย โดยเน้นใช้กล้ามเนื้อ เช่น ต้นแขน ต้นขา หัวไหล่ หน้าอก ออกแรงต้านกับน้ำหนัก หรือ แรงโน้มถ่วง ไม่ว่าจะเป็น น้ำหนักตัวเอง น้ำหนักของอุปกรณ์ออกกำลังกาย เป็นต้น ซึ่งการออกกำลังกาย เรียกว่าเป็นการรักษาความดันสูง โดยไม่ใช้ยา และ ไม่ต้องใช้เงินสิ้นเปลืองด้วยซ้ำ และนี่คือ 5 กิจกรรมออกกำลังกาย ที่สามารถทำได้ ช่วยความดันสูงดีขึ้นแน่

1. เต้นแอโรบิก

ความดันสูง ออกกำลังกาย ด้วยการเต้นแอโรบิก จะช่วยให้ค่าความดันโลหิตลดลง ส่งผลดีต่อระบบภายในทั้งหมด เส้นเลือดเกิดความยืดหยุ่น เลือดสูบฉีดดี กระดูกแข็งแรง ป้องกันการเกิดโรคกระดูกเสื่อม กระดูกผุ ในผู้สูงอายุได้ด้วย โดยการเต้นแอโรบิกนี้ เหมาะสำหรับผู้ที่เป็นความดันสูง อาการไม่หนักมาก และ เหมาะกับผู้สูงอายุ ที่เป็นความดันสูงด้วย

2. ปั่นจักรยาน

การปั่นจักรยาน เป็นการออกกำลังกาย แบบแอโรบิก ที่ช่วยให้ความดันโลหิตลดลงได้เป็นอย่างดี นอกจากจะเหมาะกับคนที่เป็นความดันสูงแล้ว ยังเหมาะกับผู้ที่เป็นความดันสูง แล้วมีปัญหาปวดเข่า ปวดข้อ ปวดสะโพก ไม่สามารถออกกำลังกายที่ต้องยืนนาน ๆ ได้ นอกจากนี้ยังช่วยป้องกันการเกิด โรคหลอดเลือดหัวใจตีบตัน โรคเบาหวาน ช่วยลดไขมันในเลือด ช่วยเพิ่มกล้ามเนื้อ ทำให้ปอด หัวใจ ตับ ไต ระบบไหลเวียนโลหิตดีขึ้น กล้ามเนื้อ เส้นเอ็น กระดูกแข็งแรงอีกด้วย

3. ว่ายน้ำ

การว่ายน้ำ เป็นหนึ่งในวิธีรักษาความดันสูง โดยไม่ใช้ยา เป็นการออกกำลังกายแบบแบบแอโรบิก ที่ช่วยให้เราได้ใช้กล้ามเนื้อทุกสัดส่วน เหมาะกับผู้สูงอายุ ที่เป็นความดันสูงด้วย เนื่องจากการว่ายน้ำ เป็นการออกกำลังกาย ที่กระทบกระเทือนข้อต่อกระดูกน้อยมาก เนื่องจากแรงต้านทานของน้ำนั่นเอง อีกทั้งยังช่วยลดอาการปวดข้อ ทำให้กล้ามเนื้อแข็งแรง เลือดลมหมุนเวียนดี ช่วยลดน้ำหนัก ลดโอกาสการเกิด โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคไขมันในหลอดเลือด ฯลฯ

4. วิ่งจ๊อกกิ้ง

ความดันสูง ออกกำลังกายด้วยการวางจ๊อกกิ้ง เป็นประจำ ส่งผลทำให้ความดันโลหิตดีขึ้นได้ เพราะการวิ่ง เป็นการช่วยกระตุ้นระบบไหลเวียนโลหิต ทำให้หลอดเลือดขยายตัว มีความยืดหยุ่นมากขึ้น หัวใจไม่ต้องใช้แรงบีบมากในการส่งเลือด ความดันโลหิตจึงต่ำลง กล้ามเนื้อหัวใจแข็งแรง อีกทั้งช่วยลดระดับคลอเรสเตอรอล ป้องกันความเสี่ยงการเกิดภาวะหัวใจวายได้ด้วย

5. ยกดัมเบล

การยกดัมเบล เป็นการออกกำลังกาย ความดันโลหิตสูงแบบใช้แรงต้าน ที่ส่งผลต่อระบบหัวใจ หลอดเลือด และ กล้ามเนื้อ ทำให้ความดันโลหิตต่ำลง รวมถึงได้ฝึกการหายใจได้อย่างถูกต้อง ทั้งนี้ห้ามกลั้นหายใจขณะยกดัมเบลเด็ดขาด เพราะการกลั้นหายใจขณะออกแรง จะทำให้ความดันสูงขึ้นได้  นอกจากการยกดัมเบล จะช่วยให้ความดันต่ำลงได้แล้ว ยังช่วยให้ผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน ไขมันในหลอดเลือด อาการดีขึ้นด้วย อีกทั้งช่วยให้กล้ามเนื้อ เส้นเอ็น ข้อต่อแข็งแรง

ปรับค่าความดัน ลึกถึงภายใน ด้วยยาสมุนไพรแก้ความดันสูง 

น้อยคนที่จะทราบว่า ยาสมุนไพรแก้ความดันสูง มีประสิทธิภาพในการรักษาความดันสูง ที่แตกต่างจาก ยาแผนปัจจุบัน และ อาหารเสริม เพราะสมุนไพร มีฤทธิ์เฉพาะ ที่สามารถออกฤทธิ์ ยับยั้งความดันสูง อาการอื่นๆ ได้ครอบคลุมกว่า ยารักษาความดันสูง ที่มีส่วนประกอบจากเคมี หรือ อาหารเสริมทั่วไปที่ ที่สำคัญคือ ไม่เสี่ยงต่อสารเคมีตกค้าง คนละแบบกับอาหารเสริมด้วย เพราะอาหารเสริม ไม่ได้สามารถยืนยันผล ในการรักษาได้

รู้หรือไม่? สมุนไพร มีฤทธิ์เฉพาะ ออกฤทธิ์ยับยั้งความดันสูง อาการอื่นๆ ได้ครอบคลุมกว่ายาเคมี และ อาหารเสริม เพราะยาเคมี อาหารเสริม ยิ่งกินนาน ยิ่งเกิดผลเสีย แก้ที่ปลายเหตุ เสี่ยงดื้อยา หมดฤทธิ์ยาก็เป็นมากขึ้นได้

ยาสมุนไพรแก้ความดันสูง “ตรีผลา FORTE” จากศูนย์แพทย์แผนไทย หมออรรถวุฒิ” เป็นยาสมุนไพร ที่สกัดจากสมุนไพร ลด ความ ดัน ที่ได้รับความนิยมมาอย่างยาวนาน จนมีผู้ซื้อซ้ำ และ บอกต่อกันมากที่สุด เนื่องจากขึ้นทะเบียนเป็น “ยาจากสารสกัดสมุนไพร” สามารถป้องกัน บำบัด บรรเทา หรือ รักษาโรคได้ ซึ่งแตกต่างจากอาหารเสริม และ ผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ที่ขึ้นทะเบียนเป็น อาหารเสริม ที่ไม่สามารถ ป้องกัน บำบัด บรรเทา หรือ รักษาโรคใด ๆ ได้เลย อีกทั้งทานนาน ๆ จะเกิดผลเสียมาก และ แก้ที่ปลายเหตุเท่านั้น หมดฤทธิ์ยาก็เป็นมากขึ้น ดังนั้นผู้ที่มีอาการความดันสูง และ ต้องการลดความดันโลหิต ต้องการให้ความดันโลหิตปกติ ก็สามารถเลือกทาน ยาสมุนไพรแก้ความดันสูง ตรีผลา FORTE ที่สกัดจาก สมุนไพร ลด ความ ดัน เพื่อผลในการรักษาได้เลย

ยาสมุนไพรแก้ความดันสูง ตรีผลา FORTE
สกัดสมุนไพรแท้ เข้มข้น ลิขสิทธิ์หนึ่งเดียว รักษาความดันสูง ครอบคลุม ปรับปรุงลึกถึงต้นเหตุ เห็นผลชัด ลดคอเลสเตอรอล น้ำตาลในเลือด ไตรกลีเซอไรด์ ป้องกันเบาหวาน ไขมันอุดตันเส้นเลือด

ยาสมุนไพรแก้ความดันสูง ตรีผลา FORTE ได้รับการรับรอง และ ผ่านการตรวจวิเคราะห์ความบริสุทธิ์ จาก อย. มาเรียบร้อยแล้ว พิถีพิถันตั้งแต่กรรมวิธี การเลือกสมุนไพร ลด ความ ดัน มาเป็นส่วนประกอบในตัวยา การเก็บเกี่ยว การใช้เทคนิคสกัดยาเฉพาะ เพื่อให้ได้สารสำคัญ ตัวยา ออกฤทธิ์ดี ครบถ้วน เป็นสูตรตำรับเฉพาะ ที่สกัดจากสมุนไพร ลด ความ ดัน หลากหลายชนิด เช่น สารสกัดดอกคำฝอย สารสกัดขิงแห้ง สารสกัดกระวาน สารสกัดดีปลี สารสกัดเจตมูลเพลิง สารสกัดทองพันชั่งดอกขาว และ ทองพันช่างดอกเหลือง สารสกัดลูกจันทร์ ฯลฯ เพื่อให้ผลการรักษาความดันสูง อย่างครอบคลุม ปรับปรุงลึกถึงต้นเหตุ ของการเกิดความดันสูง ความบกพร่อง และ อาการแทรกซ้อน ตามอวัยวะส่วนอื่นๆ ของร่างกาย ไม่ว่าจะเป็น

  1. ช่วยปรับสมดุลความดันสูง ให้ลดลง
  2. ช่วยทำให้หลอดเลือด ยืดหยุ่นได้ดีขึ้น ระบบไหลเวียนโลหิตดีขึ้น ส่งผลให้ความดันสูง อาการดีขึ้น
  3. ช่วยลดคอเลสเตอรอล น้ำตาลในเลือด ไตรกลีเซอไรด์ ล้างไขมันเกาะตับ ไขมันในเลือด ไขมันอุดตันในเส้นเลือด
  4. ช่วยให้ความดันสูง อาการต่าง ๆ เช่น อาการปวดศีรษะ วิงเวียน หน้ามืด ลมปะกัง ลมตีขึ้นเบื้องสูง ดีขึ้นได้
  5. ช่วยขับน้ำดี ขับไขมันสะสม ของเสีย น้ำตาลส่วนเกิน พิษต่าง ๆ ออกทางท่อน้ำดี พร้อมกับ น้ำดี ผ่านออกทางอุจาระ และ ปัสสาวะ
  6. ป้องกันภาวะแทรกซ้อน ความดันโลหิตสูง เช่น ความดันลงไต ไตวาย ความดันโลหิตสูงขึ้นจอประสาทตา ได้เป็นอย่างดี
  7. ช่วยลดน้ำหนัก ลดไขมันส่วนเกิน สำหรับคนที่มีอาการความดันสูง เพราะน้ำหนักเกิน ส่วนคนที่ผอมอยู่แล้ว จะไม่ได้ผอมมากขึ้น เพราะเป็นการลดน้ำหนัก อย่างปลอดภัย ไร้ผลข้างเคียง ตามสมดุลธรรมชาติ
  8. ช่วยล้างเมือกมัน ตะกรันในลำไส้ ล้างพิษตับ ล้างน้ำเหลืองเสีย
  9. ช่วยบำรุงปลายประสาท แขน ขา มีแรงมากขึ้น ทำให้ผู้เป็นความดันสูง ออกกำลังกายได้นานยิ่งขึ้น ไม่เหนื่อยง่าย
  10. แก้อาการชาปลายมือ และ เท้า
  11. ปรับสมดุลขับถ่าย
  12. ต้านอนุมูลอิสระ ชะลอวัย
  13. ลดอาการบวมน้ำ
  14. ช่วยทำให้สดชื่น กระปรี้กระเปร่า
  15. สามารถทานคู่กับ ยารักษาความดันสูง แผนปัจจุบันได้
  16. ใครที่เป็นความดันสูง แล้วจำเป็นต้องกินยารักษาความดันสูง แผนปัจจุบัน ก็จะค่อย ๆ ลดยาลงได้ ควบคู่กันไป โดยไม่ต้องกังวลว่า จะทำให้ความดันโลหิต และ น้ำตาลในเลือด ต่ำเกินเกณฑ์แต่อย่างใด เพราะยาสมุนไพรแก้ความดันสูง ไม่ได้ไปออกฤทธิ์กดไว้ เหมือนยารักษาความดันสูง แผนปัจจุบัน
  17. แก้ผลข้างเคียง ของการทานยารักษาความดันสูง แผนปัจจุบัน เพราะช่วยฟื้นฟูตับไต ให้ทำงานได้ดีขึ้น ไม่เสื่อมเร็ว จากผลของการกินยาแผนปัจจุบัน ที่เป็นยาเคมี ติดต่อกันนาน
  18. ผู้ที่มีความดันโลหิตปกติ ก็สามารถทาน ยาสมุนไพรแก้ความดันสูง ตรีผลา FORTE ได้ เพื่อป้องกันไม่ให้ความดันสูง อาการต่าง ๆ เกิดขึ้นกับตัวเองได้เช่นกัน

สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่นี่

หากมีข้อสงสัยใด ๆ เพิ่มเติม สามารถคอมเมนต์สอบถามได้ เรามีเภสัชกร และ ผู้เชี่ยวชาญ คอยให้คำปรึกษาทุกปัญหาสุขภาพ


แชร์ได้เลยค่ะ

Leave a Comment

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

Scroll to Top