แผลเบาหวาน ต้องระวัง! ดูแลอย่างไร ไม่ให้ติดเชื้อ

แผลเบาหวาน ต้องระวัง! ดูแลอย่างไร ไม่ให้ติดเชื้อ

แชร์ได้เลยค่ะ

โรคเบาหวาน เป็นโรคที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่เราสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ หรือ อยู่ในระยะสงบได้ แต่หากไม่ดูแลตัวเอง ไม่คุมเบาหวาน ภาวะแทรกซ้อนเบาหวานก็จะตามมา ซึ่งภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน ที่พบบ่อยมากที่สุด ก็คือ “แผลเบาหวาน” นั่นเอง โดยแผลเบาหวาน มักเป็นที่เท้า หากดูแลแผลเบาหวานไม่ดี ก็จะทำให้เกิดการติดเชื้อ ขาไร้ความรู้สึก และอาจถึงขั้นตัดขาไปเลยก็เป็นได้ ซึ่งถือว่าอันตรายมากทีเดียว

แผลเบาหวาน มักเกิดขึ้นที่เท้า ต้องรีบรักษา 
ป้องกันแผลเบาหวานติดเชื้อ เน่า จนต้องตัดขาทิ้ง

แผลเบาหวาน คืออะไร

แผลเบาหวาน เกิดจากไขมันและน้ำตาลไม่ย่อยสลาย ไปจับกับเส้นเลือด ทำให้เส้นเลือดแดงตีบ แข็ง อุดตัน เลือดไม่ไหลไปเลี้ยงปลายประสาท ทำให้ขา เท้า ชา เกิดบาดแผลได้ง่าย เป็นแล้วมักไม่รู้สึกตัว ต้องหมั่นสังเกต ป้องกันแผลเบาหวานติดเชื้อ

ภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน อย่างแผลเบาหวาน เกิดจากไขมัน และ น้ำตาลในร่างกายไม่ย่อยสลาย แล้วไปจับกับเส้นเลือด ทำให้หลอดเลือดแดงตีบ และ แข็ง จนเกิดการอุดตัน เลือดไม่สามารถนำออกซิเจน และ สารอาหาร ไปเลี้ยงตามปลายประสาทได้ดีพอ พอนานวันเข้า ปลายประสาทอย่างมือ หรือ เท้า ก็จะรับความรู้สึกเจ็บ ปวด ร้อน เย็น ได้น้อยลง รู้สึกชา ไร้ความรู้สึก และทำให้เกิดบาดแผลได้ง่าย เวลาผู้ป่วยเบาหวานมีแผล เช่น รองเท้ากัด เหยียบเศษแก้ว เศษไม้  ก็จะไม่รู้สึกตัว เพราะเลือดไม่ไหลเวียนไปยังปลายประสาท เกิดการขาดเลือดเฉพาะที่ มาสังเกตเห็นอีกที ก็เป็นแผลเยอะแล้ว ผลที่ตามมาก็คือ แผลเบาหวานหายช้า แผลเบาหวานติดเชื้อ เป็นแผลเบาหวานเรื้อรัง และอาจถึงขั้นสูญเสียอวัยวะส่วนนั้นไปเลยก็ได้

โดยเราสามารถแบ่งระดับความรุนแรง ของแผลเบาหวาน ได้ดังนี้

  • ระดับที่ 1 มีแผลเบาหวาน แต่ยังไม่อักเสบ เป็นแล้วมักไม่รู้ตัว  
  • ระดับที่ 2 แผลเบาหวานลึก สามารถมองเห็นเส้นเอ็น และ กระดูกได้  
  • ระดับที่ 3 แผลเบาหวานลุกลามอย่างเห็นได้ชัด เป็นวงกว้าง

เช็คสักนิด ใช่คุณหรือไม่ เสี่ยงเป็นแผลเบาหวาน

เช็คสักนิด ใช่คุณหรือไม่ เสี่ยงเป็นแผลเบาหวาน
เป็นเบาหวาน นานกว่า 5 – 10 ปี
ไม่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด 
มีของเหลว กลิ่นเหม็น ไหลออกมาจากผิวหนัง
ผิวหนังเปลี่ยนสี
สวมรองเท้าคับแน่น
ชอบเดินเท้าเปล่า 
มีประวัติเคยตัดนิ้วเท้า หรือ ขา
เท้าผิดรูป
หนังเท้าด้านแข็ง
เคยมีแผลที่เท้ามาก่อน ในช่วง 2 - 5 ปี
มีอาการของโรคเส้นประสาท
มีภาวะแทรกซ้อนเบาหวานที่ไต
สายตาพร่ามัว
ระบบไหลเวียนโลหิตไม่ดี 
ชอบสูบบุหรี่ 
แผลเบาหวาน มักพบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง  
มักเกิดขึ้นกับผู้สูงวัย

เมื่อทราบแล้วว่า แผลเบาหวาน เกิดจากอะไร คราวนี้ลองมาเช็คกันสักนิดว่า คุณคือกลุ่มเสี่ยง ที่จะเป็นแผลเบาหวานหรือไม่ จะได้หาวิธีป้องกัน ไม่ให้แผลเบาหวานเกิดขึ้นกับตัวเอง

  • เป็นเบาหวาน น้ำตาลในเลือดสูง มานานกว่า 5 – 10 ปี
  • ละเลย หรือ ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้
  • มีของเหลว กลิ่นเหม็น ไหลออกมาจากผิวหนัง
  • ผิวหนังเปลี่ยนสี
  • สวมรองเท้าคับแน่น
  • ชอบเดินเท้าเปล่า
  • มีประวัติเคยตัดนิ้วเท้า หรือ ขา
  • เท้าผิดรูป
  • หนังเท้าด้านแข็ง
  • เคยมีแผลที่เท้ามาก่อน ในช่วงเวลา 2 – 5 ปี
  • มีอาการของโรคเส้นประสาท
  • มีภาวะแทรกซ้อนที่ไต
  • สายตาพร่ามัว
  • ระบบไหลเวียนโลหิตไม่ดี
  • ชอบสูบบุหรี่
  • แผลเบาหวาน มักพบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง  
  • มักเกิดขึ้นกับผู้สูงวัย

หากคุณเข้าเกณฑ์ตามที่เราบอก แต่ไม่ครบทุกข้อ ก็ถือว่าเป็นกลุ่มเสี่ยง ที่จะเกิดแผลเบาหวานได้เช่นกัน ดังนั้นเราแนะนำให้ผู้ป่วยเบาหวานทุกคน คอยสังเกตเท้า และ มือ เป็นประจำ ว่ามีแผล หรือ เท้าเปลี่ยนสี หรือ ความผิดปกติอื่น ๆ เกิดขึ้นหรือไม่ หากมีอาการผิดปกติ แนะนำให้รีบพบแพทย์ทันที

ไม่อยากเป็นแผลเบาหวาน ป้องกันได้ แค่ทำตามนี้

ไม่อยากเป็นแผลเบาหวาน ป้องกันได้ แค่ทำตามนี้
1. คุมระดับน้ำตาลในเลือด 
2. หมั่นสังเกตเท้า และ มือ ว่ามีแผล เท้าเปลี่ยนสี หรือไม่
3. ทำความสะอาดร่างกายทุกวัน เช็ดตัวให้แห้ง
4. ทาโลชั่นทุกครั้ง แต่ห้ามทาโลชั่น ที่มีส่วนผสมของน้ำมัน 
5. ตัดเล็บมือ เท้าอย่างสม่ำเสมอ ห้ามให้เกิดแผลเด็ดขาด
6. สวมถุงเท้า 
7. ห้ามใส่ถุงเท้าซ้ำ 
8. เลือกรองเท้าที่ใส่สบาย พื้นไม่ลื่น

ใช่ว่าทุกคนที่เป็นเบาหวาน จะต้องมีภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน อย่างแผลเบาหวานเสมอไป เพราะเราสามารถป้องกันได้ ด้วยคำแนะนำดังต่อไปนี้

  1. ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
  2. หมั่นสังเกตเท้า และ มือ เป็นประจำ ว่ามีแผล ตาปลา เท้าเปลี่ยนสี หรือ ความผิดปกติอื่นๆ เกิดขึ้นหรือไม่
  3. ทำความสะอาดร่างกายทุกวัน และ เช็ดตัวให้แห้งเสมอ
  4. ทาโลชั่นทุกครั้งหลังอาบน้ำ เพื่อให้มือ และ เท้า เกิดความชุ่มชื่นเสมอ แต่ห้ามทาโลชั่น ที่มีส่วนผสมของน้ำมัน เพราะจะทำให้แผลเบาหวานติดเชื้อได้ง่าย
  5. ตัดเล็บมือ และ เท้าอย่างสม่ำเสมอ แต่อย่าตัดสั้นมากจนเกินไป
  6. ระมัดระวังขณะตัดเล็บด้วย ห้ามให้เกิดแผลเด็ดขาด
  7. สวมถุงเท้า เพื่อลดการเสียดสีของเท้า ขณะใส่รองเท้า
  8. ห้ามใส่ถุงเท้าซ้ำ และ หมั่นซักถุงเท้าเป็นประจำ
  9. เลือกรองเท้าที่ใส่สบาย เหมาะกับรูปเท้า พื้นไม่ลื่น เพื่อลดโอกาสรองเท้ากัด เล็บขบ หรือ ลื่นล้มจนเกิดบาดแผล  

เหตุใดแผลเบาหวานที่นิ้วเท้า แผลเบาหวานเท้า เกิดขึ้นได้ง่าย

แผลเบาหวานส่วนใหญ่ มักเกิดที่นิ้วเท้า หรือ เท้า “เพราะเส้นเลือดตีบ และ แข็ง จนเกิดการอุดตัน ส่งผลต่อปลายประสาทเท้าโดยตรง” เมื่อเลือดไม่ไปหล่อเลี้ยงที่ขา หรือ เท้า ก็จะทำให้ผิวหนังแห้ง เกิดแผลที่เท้าได้ง่ายนั่นเอง

นอกจากนี้ หากมีอาการเท้าผิดรูป ระบบประสาทสั่งการกล้ามเนื้อในเท้าเสียหาย เวลาเดินก็จะทำให้เกิดจุดกดทับที่ฝ่าเท้า หนังเท้าแข็งด้าน แล้วทำให้เกิดแผลเบาหวานเท้าได้ด้วย

เป็นแผลเบาหวาน ตัดขาทุกคนหรือไม่

หลายคนที่ไม่ได้เป็นเบาหวาน แต่มีคนใกล้ตัวเป็นเบาหวาน หรือ หากคุณมีอาการเบาหวานอยู่แล้ว แต่เกิดความสงสัยว่า หากเป็นแผลเบาหวานที่นิ้วเท้า หรือ เป็นแผลเบาหวานเท้า ต้องตัดขา ตัดเท้าทิ้งหรือไม่?

เราขอตอบว่า “ไม่จำเป็นต้องตัดขาเสมอไป” เพราะหากรู้ตัวว่า มีแผลเบาหวาน แล้วรีบรักษา แผลก็จะไม่ลุกลาม หรือ ติดเชื้อ จนแผลเน่า แต่หากไม่รักษาอย่างเร่งด่วน หรือ รู้ตัวช้า แล้วปล่อยให้แผลเบาหวานติดเชื้อ ลุกลามจนแผลเน่า ก็จำเป็นต้องจัดการแผลเบาหวาน ตัดขา หรือ ตัดเท้าทิ้ง เพื่อไม่ให้เชื้อที่เน่า ลุกลามไปยังอวัยวะอื่น ๆ เพราะหากไม่ตัดอวัยวะที่ติดเชื้อทิ้งไป เชื้อเหล่านั้น จะเข้าสู่กระแสเลือด แล้วทำให้ผู้ป่วยเบาหวานเสียชีวิตได้นั่นเอง

แผลเบาหวาน รักษาอย่างไรดี

แผลเบาหวาน รักษาอย่างไรดี
1. ล้างแผลเบาหวานเบาๆ รอบผิวหนังที่เป็นแผล ล้างด้วยสบู่ น้ำอุ่น หรือ น้ำเกลือ 
2. ห้ามขัดถูแผลเบาหวานเด็ดขาด 
3. เช็ดให้แห้งสนิท หยดเบตาดีน ปิดแผลด้วยผ้าปิดแผลที่แห้ง และ ผ่านการฆ่าเชื้อ 
4. ห้ามปิดแผลด้วยพลาสเตอร์ 
5. ล้างแผล 2 - 4 ครั้ง/วัน
6. ห้ามทาโลชั่น ที่มีส่วนผสมของน้ำมัน  
7. ห้ามแผลเบาหวานเปียกน้ำ ถูกกด หรือ รับน้ำหนักมากเกินไป
8. คุมระดับน้ำตาลในเลือด
9. หากแผลเบาหวาน ไม่หายภายในสองสัปดาห์ แนะนำให้

เมื่อรู้ตัวแล้วว่า เป็นแผลเบาหวาน แนะนำให้พบแพทย์เพื่อรักษา กรณีที่เป็นแผลเบาหวานติดเชื้อ มีหนอง แพทย์จะทำการเปิดแผลให้กว้าง เพื่อนำหนองที่คั่งอยู่ออกมา จากนั้นจะทำการตัดเนื้อเน่า หรือ เนื้อที่ตายแล้วออก พร้อมกับล้างน้ำเกลือที่แผล หยดเบตาดีน 2 – 4 ครั้ง/วัน เพื่อป้องกันการติดเชื้อ

สำหรับวิธีดูแลตัวเอง ขอให้จำไว้เสมอว่า หัวใจหลักของแผลเบาหวาน รักษาให้ดีขึ้นได้ ด้วยความสะอาด ดังนั้นเมื่อกลับบ้านมาแล้ว ให้ทำความสะอาดแผลเบาหวานเท้า ดังนี้

1. ล้างแผลเบาหวานที่นิ้วเท้า หรือ แผลเบาหวานเท้าเบา ๆ รอบผิวหนังที่เป็นแผลเท่านั้น โดยล้างด้วยสบู่ น้ำอุ่น หรือ น้ำเกลือ ห้ามล้างด้วยแอลกอฮอล์เด็ดขาด เพราะแอลกอฮอล์จะทำลายโปรตีนในเนื้อเยื้อ

2. ห้ามขัดถูแผลเบาหวานที่นิ้วเท้า หรือ เท้าเด็ดขาด

3. ล้างแผลเบาหวานเสร็จแล้ว ให้เช็ดให้แห้งสนิท และ หยดเบตาดีนลงไป พร้อมปิดแผลด้วยผ้าปิดแผลที่แห้ง และ ผ่านการฆ่าเชื้อมาแล้ว

4. ห้ามปิดแผลด้วยพลาสเตอร์ เพราะจะทำให้แผลเบาหวานไม่แห้ง

5. แนะนำให้ล้างแผล 2 – 4 ครั้ง/วัน

6. ห้ามทาโลชั่น ที่มีส่วนผสมของน้ำมัน เพราะจะทำให้แผลเบาหวานติดเชื้อ

7. หลีกเลี่ยงไม่ให้แผลเบาหวานเปียกน้ำ ถูกกด หรือ รับน้ำหนักมากเกินไป

8. พยายามควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด

9. หากแผลเบาหวาน ไม่หายภายในสองสัปดาห์ แนะนำให้ไปพบแพทย์อีกครั้ง

10. หากแผลมีน้ำเหลือง หนอง บวม แดง ให้ไปพบแพทย์ทันที

ป้องกันติดเชื้อ แผลเบาหวาน รักษา ด้วยยาสมุนไพร รักษา แผล เบาหวาน แผน ไทย

หากเกิดแผลเบาหวานที่นิ้วเท้า หรือ ขา การ นอกจากความสะอาด ที่เป็นหัวใจหลักในการรักษาแผลเบาหวานแล้ว การป้องกันการติดเชื้อ และ การสมานแผล ก็เป็นเรื่องที่สำคัญเช่นกัน เพื่อไม่ให้แผลเบาหวานเน่า และ ลุกลามไปยังบริเวณอื่น ๆ ได้

ซึ่งยาสมุนไพร รักษา แผล เบาหวาน แผน ไทย นับว่าเป็นตัวช่วยสำคัญ ที่จะทำให้แผลเบาหวาน รักษาหายเร็วขึ้น เพราะการออกฤทธิ์ของสมุนไพร จะเข้าไปทำให้เลือดลมไหลเวียนดีขึ้น ดังนั้นปัญหาเส้นเลือดตีบ และ แข็ง จนเกิดการอุดตัน ทำให้เลือดไม่ไปเลี้ยงเท้า จนเกิดแผลเบาหวานนั้น ก็จะหายดีขึ้นตามลำดับ อีกทั้งระบบภายใน ระบบน้ำเหลือง เซลล์เนื้อเยื่อที่ใกล้ตาย ก็จะค่อย ๆ ไหลเวียนดี แผลถูกสมานให้หายโดยไว การติดเชื้อจึงลดลง  

ยาสมุนไพรรักษาแผลเบาหวานแผนไทย
ตรีผลา FORTE ตัวช่วยสำคัญ ดูแลแผลเบาหวาน หายไว ไม่ต้องตัดขา

ซึ่งยาสมุนไพร รักษา แผล เบาหวาน แผน ไทย “ตรีผลา FORTE” จากศูนย์แพทย์แผนไทย หมออรรถวุฒิ เป็นยาสมุนไพรชนิดรับประทาน ที่ขึ้นชื่อในเรื่องป้องกัน และ รักษาแผลเบาหวาน มายาวนานมากกว่า 30 ปี เป็นยาตำรับสมุนไพร สกัดบริสุทธิ์จากสมุนไพรแท้ 100% มากถึง 22 ชนิด ไม่ว่าจะเป็น

  • สารสกัดสมอทั้ง 5 ได้แก่ สมอไทย สมอภิเภก สมอเทศ สมอดีงู สมอทะเล
  • สารสกัดดอกคำฝอย
  • สารสกัดดีปลี
  • สารสกัดขิงแห้ง
  • สารสกัดเจตมูลเพลิง
  • สารสกัดกระวานเทศ
  • สารสกัดเถาวัลย์เปรียง ฯลฯ

ได้รับการรับรอง ผ่านการตรวจวิเคราะห์ความบริสุทธิ์ และ ปลอดภัยจาก อย. มีผลวิจัยรองรับ ถึงประสิทธิภาพในการรักษาเบาหวาน ได้ละเอียด ลงลึก ถึงต้นตอ ไม่ว่าจะเป็น

  • ฟื้นฟู บำรุงตับอ่อน ให้หลั่งอินซูลินได้ปกติ ซึ่งเป็นพื้นฐานในการรักษาเบาหวานอันดับแรก
  • ป้องกัน รักษาเบาหวาน แผลเบาหวาน แผลเบาหวานที่นิ้วเท้า แผลเบาหวานเท้า
  • เพิ่มการไหลเวียนโลหิต บำรุงปลายประสาท แก้อาการชาปลายมือ ปลายเท้า ลดเสี่ยงการเกิดแผลเบาหวานได้
  • แผลเบาหวาน สมานเร็วขึ้น
  • เรียกเนื้อตายให้ซ่อมแซมตัวเองได้อย่างสมบูรณ์
  • ลดโอกาสแผลเบาหวานติดเชื้อ
  • ลดระดับน้ำตาลในเลือด ป้องกันเส้นเลือดอุดตัน ตีบ แข็ง
  • ลดคอเลสเตอรอล ไตรกลีเซอไรด์ ล้างไขมันเกาะตับ ไขมันในเลือด ป้องกันไขมันอุดตันเส้นเลือด
  • ล้างเมือกมัน ตะกรันในลำไส้ ล้างพิษตับ ล้างน้ำเหลืองเสีย
  • ปรับสมดุลขับถ่าย สมดุลความดัน  
  • ป้องกันเบาหวานขึ้นตา เบาหวานลงไต

นับว่าทางเลือกสุขภาพดี ของผู้ที่เป็นเบาหวาน และ แผลเบาหวาน สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่นี่

หากมีข้อสงสัยใด ๆ เพิ่มเติม สามารถคอมเมนต์สอบถามได้ เรามีเภสัชกร และ ผู้เชี่ยวชาญ คอยให้คำปรึกษาทุกปัญหาสุขภาพ


แชร์ได้เลยค่ะ

Leave a Comment

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

Scroll to Top