เป็นกรดไหลย้อน แสบคอ ต้องระวัง! 5 โรคแทรกซ้อนนี้

แชร์ได้เลยค่ะ

อาการกรดไหลย้อนขึ้นคอ และ กล่องเสียง (Laryngopharyngeal Reflux: LPR) เป็นอาการกรดไหลย้อน ที่เกิดจากกรด หรือ น้ำย่อยในกระเพาะอาหาร ไหลย้อนขึ้นมา เหนือกล้ามเนื้อหูรูดหลอดอาหารส่วนบน เนื่องจากกล้ามเนื้อหูรูดหลอดอาหารส่วนล่าง เกิดการคลายตัวอย่างผิดปกติ ทำให้กรดไหลย้อนขึ้นไปที่คอ และ กล่องเสียงได้ง่ายนั่นเอง นอกจากจะเป็นกรดไหลย้อน แสบคอบ่อยๆ แล้ว ยังส่งผลกระทบต่อระบบในร่างกายหลายอย่าง ทั้งหลอดอาหาร กล่องเสียง หลอดลม จมูก และ หู จำเป็นต้องรีบหาวิธีการรักษาโรคกรดไหลย้อนชนิดนี้ ให้เร็วที่สุด เพื่อป้องกันโรคแทรกซ้อน ก่อนการลุกลามไปเป็นมะเร็งหลอดอาหารนั่นเอง

เป็นกรดไหลย้อน แสบคอ เพราะส่งผลเสียต่อหลอดอาหาร กล่องเสียง หลอดลม จมูก และหู รักษาให้ไว ก่อนการลุกลามไปเป็นมะเร็งหลอดอาหาร

อาการกรดไหลย้อนขึ้นคอ เป็นอย่างไร กรดไหลย้อน แสบคอแบบไหน เรียกว่าอันตราย

หากปล่อยให้ตัวเอง มีอาการกรดไหลย้อนขึ้นคอ หรือ เป็นกรดไหลย้อน แสบคอบ่อยๆ แล้วล่ะก็ หากมีอาการที่เราจะบอกนี้ร่วมด้วย ถือว่าอันตราย จำเป็นต้องรีบหาวิธีรักษา ก่อนที่จะกลายเป็นกรดไหลย้อนเรื้อรัง แล้วจะรักษาได้ยาก

  1. เป็นกรดไหลย้อนบ่อย พร้อมกับกล่องเสียงอักเสบ
  2. เสียงแหบ เสียงเปลี่ยน กรดไหลย้อนมักกำเริบ ช่วงหลังตื่นนอน
  3. เป็นกรดไหลย้อน แสบคอ เจ็บคอมากกว่าปกติ
  4. รู้สึกคล้ายกับมีก้อนบางอย่าง ติดอยู่ในลำคอ
  5. เรอบ่อย รู้สึกเคือง ระคายคอ
  6. กลืนอาหาร หรือ กลืนน้ำลายลำบาก
  7. อาเจียนบ่อย พะอืดพะอม เปรี้ยวในปาก คลื่นไส้บ่อย
  8. คัดจมูก น้ำมูกไหล คัน จามบ่อย มีน้ำมูก หรือ เสมหะในลำคอ
  9. มีอาการปวดหู หูอื้อ
  10. จุก เสียด แน่น ใต้ลิ้นปี่ และเจ็บหน้าอกร่วมด้วย
  11. หายใจไม่เต็มอิ่ม หายใจไม่ออกตอนนอน
  12. มีน้ำลายมาก มีกลิ่นปาก เสียวฟัน หรือ ฟันผุ
  13. ไอเรื้อรัง หรือ กระแอมบ่อย

เป็นกรดไหลย้อน แสบคอบ่อย ระวัง! เสี่ยง 5 โรคนี้

เป็นกรดไหลย้อน แสบคอบ่อย ระวัง! เสี่ยง 5 โรคนี้
1. หลอดอาหารอักเสบ (Esophagitis) 
2. แผลหลอดอาหาร (Esophageal Ulcer)
3. ภาวะกลืนลำบากจากหลอดอาหารผิดปกติ (Esophageal Dysphagia) 
4. หลอดอาหารบาร์เรตต์ (Barretts Esophagus)
5. โรคหอบหืด (Asthma)

หากเราปล่อยให้เป็นกรดไหลย้อน แสบคอนานๆ โดยไม่ทำการรักษา แน่นอนว่ามีความเสี่ยงต่ออาการแทรกซ้อน ที่อาจเกิดขึ้นกับร่างกายได้ โดยเฉพาะ 5 โรคแทรกซ้อนนี้

1. หลอดอาหารอักเสบ (Esophagitis)

หลอดอาหาร เป็นท่อที่นำส่งอาหารจากปาก ไปสู่กระเพาะอาหาร หากปล่อยให้เป็นกรดไหลย้อน แสบคอนานๆ โดยไม่ทำการรักษา เยื่อบุภายในหลอดอาหาร จะเกิดการอักเสบขึ้นมา กลายเป็นหลอดอาหารอักเสบได้ เมื่อเป็นแล้วจะมีอาการกลืนอาหารลำบาก แสบร้อนกลางอกเจ็บคอ เสียงแหบ คลื่นไส้ อาเจียน เป็นต้น หากปล่อยให้อาการกรดไหลย้อน กลายเป็นหลอดอาหารอักเสบ แล้วไม่รีบทำการรักษาอีก ก็อาจส่งผลให้หลอดอาหารตีบตัน หลอดอาหารฉีกขาด หรือหลอดอาหารอักเสบเรื้อรัง และเสี่ยงต่อการเป็นโรคมะเร็งหลอดอาหาร

2. แผลหลอดอาหาร (Esophageal Ulcer)

หากปล่อยให้อาการกรดไหลย้อนเรื้อรัง จนทำให้หลอดอาหารอักเสบ แล้วไม่ทำการรักษา อาการอักเสบที่เกิดขึ้น จะเกิดการติดเชื้อ และส่งผลให้เป็นแผลที่หลอดอาหารได้ หากเกิดขึ้นแล้วจะทำให้ปวดแสบ ปวดร้อนที่หน้าอก เป็นแผล เลือดออก อาเจียนเป็นเลือด อุจจาระเป็นสีดำ เป็นต้น

3. ภาวะกลืนลำบากจากหลอดอาหารผิดปกติ (Esophageal Dysphagia)

อาการกรดไหลย้อนขึ้นคอ หากปล่อยให้เรื้อรัง อาจส่งผลให้กลืนอาหารลำบาก คล้ายมีอาหารติดอยู่ในลำคอ บางรายอาจกลืนอาหารไม่ได้เลย แสบกลางอก เป็นกรดไหลย้อนบ่อย ไอบ่อย สำลักอาหารบ่อย น้ำลายไหลบ่อย เสียงแหบ น้ำหนักตัวลดลงผิดปกติ เพราะได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ บางรายอาจลุกลามกลายเป็นติดเชื้อในทรวงอกได้ด้วย

4. หลอดอาหารบาร์เรตต์ (Barretts Esophagus)

หากปล่อยให้อาการกรดไหลย้อน แสบคอเรื้อรัง หนึ่งในโรคแทรกซ้อนที่พบบ่อยก็คือ โรคหลอดอาหารบาร์เรตต์   ที่ทำให้เยื่อบุภายในหลอดอาหารอักเสบรุนแรง เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงในเซลล์เยื่อบุหลอดอาหาร ทำให้เจ็บหน้าอก คลื่นไส้ อาเจียน อุจจาระปนเลือด เจ็บคอ ไอเรื้อรัง เสียงแหบแห้ง กลืนอาหารลำบาก หายใจลำบาก และเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งหลอดอาหารสูงอีกด้วย  

5. โรคหอบหืด (Asthma)

หลายคนอาจคาดไม่ถึงว่าอาการกรดไหลย้อน จะทำให้เป็นโรคหอบหืดได้ ซึ่งจริงๆ แล้วมีความสัมพันธ์กันอยู่มาก โดยผู้ที่มีอาการกรดไหลย้อนขึ้นคอ จะมีอาการแสบคอ แสบร้อนกลางอก ไอเรื้อรัง หายใจลำบาก เพราะหลอดลมหดเกร็ง ซึ่งนำไปสู่การเป็นโรคหอบหืดได้ หรือผู้ที่เป็นโรคหอบหืดอยู่แล้ว ก็มีโอกาสเสี่ยงมีอาการกรดไหลย้อนด้วยเช่นกัน

กรดไหลย้อนรักษานานไหม รักษาอย่างไรได้บ้าง

ถาม : กรดไหลย้อนรักษานานไหม และมีวิธีรักษาโรคกรดไหลย้อนอย่างไรบ้าง  
ตอบ : กรดไหลย้อนรักษานานไหม ขึ้นอยู่กับว่า คุณมีอาการกรดไหลย้อน อยู่ในระยะที่เท่าไหร่ เพราะกรดไหลย้อน แบ่งออกเป็น 3 ระยะ โดยระยะที่ 1 และ 2 สามารถรักษากรดไหลย้อนเบื้องต้น ด้วยการหาซื้อยาลดกรดไหลย้อน มาทานเองได้ ใช้เวลารักษาประมาณ 1 – 3 เดือน ขึ้นอยู่กับแต่ละคน แต่หากกินยาลดกรดไหลย้อน ไปประมาณ 1 – 2 เดือน แล้วยังไม่ดีขึ้น หรือ เป็นกรดไหลย้อนเรื้อรัง ระยะที่ 3 จำเป็นต้องพบแพทย์ เพราะบางทีอาจเกิดโรคแทรกซ้อน ต้องใช้วิธีรักษาโรคกรดไหลย้อนด้วยการผ่าตัดร่วมด้วย

ถาม : กรดไหลย้อนรักษานานไหม และมีวิธีรักษาโรคกรดไหลย้อนอย่างไรบ้าง เพื่อให้อาการกรดไหลย้อน หรือ อาการกรดไหลย้อนขึ้นคอ หายได้ไวที่สุด และไม่กลับมาเป็นซ้ำอีก

ตอบ : กรดไหลย้อนรักษานานไหม ขึ้นอยู่กับว่า คุณมีอาการกรดไหลย้อน อยู่ในระยะที่เท่าไหร่ เพราะกรดไหลย้อน แบ่งออกเป็น 3 ระยะ โดยระยะที่ 1 และ 2 สามารถรักษากรดไหลย้อนเบื้องต้น ด้วยการหาซื้อยาลดกรดไหลย้อน มาทานเองได้ ซึ่งอาการกรดไหลย้อน แสบคอ ไม่นานก็หายดี โดยใช้เวลารักษาประมาณ 1 – 3 เดือน ขึ้นอยู่กับแต่ละคน พร้อมกับปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารร่วมด้วย ถึงจะหายเร็วขึ้น และไม่กลับมาเป็นซ้ำอีกอีกด้วย ดังนี้

  1. รับประทานอาหารให้ตรงเวลา ครบทั้ง 3 มื้อ  
  2. รับประทานอาหาร ในปริมาณที่พอดี ไม่ทานจนอิ่มเกินไป
  3. ควบคุมน้ำหนัก ให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน
  4. เคี้ยวอาหาร ให้ละเอียด 
  5. ห้ามรับประทานอาหารเร็ว
  6. หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหาร ที่มีไขมันสูง  
  7. หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหาร รสจัด ของหมักดอง น้ำส้มสายชู ปลาร้า  
  8. หลีกเลี่ยงเครื่องดื่ม ที่มีแก๊สมาก เช่น น้ำอัดลม, โซดา, เครื่องดื่มชูกำลัง
  9. หลีกเลี่ยงการรับประทานผัก ที่มีแก๊สมาก เช่น หอมหัวใหญ่, หอมแดง, สะระแหน่ หรือ ผักดิบทุก
  10. หลีกเลี่ยงเครื่องดื่ม ที่มีส่วนผสมของคาเฟอีน และ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์  
  11. หลีกเลี่ยงการดื่มนม เพราะนมจะไปกระตุ้นการหลั่งฮอร์โมนแกสตริน (Gastrin) สาเหตุของอาการกรดไหลย้อน
  12. หลีกเลี่ยงการดูดหลอดที่มีรูใหญ่ เช่น ชานมไข่มุก เพราะเป็นการนำลมเข้าสู่กระเพาะอาหารมากกว่าเดิม
  13. หลีกเลี่ยงแป้งขัดขาว แป้งแปรรูป เช่น ขนมปัง ข้าวขาว
  14. รับประทานข้าวกล้อง ข้าวไรซ์เบอร์รี่ หรือ ธัญพืช
  15. ไม่นอนทันที หลังรับประทานอาหาร
  16. รับประทานอาหารมื้อเย็น ก่อนเข้านอนอย่างน้อย 4 ชั่วโมง 
  17. รับประทานอาหาร ที่ทำจากสมุนไพรลดกรดในกระเพาะอาหาร หรือ สมุนไพรลดกรดไหลย้อน เช่น กระเจี๊ยบเขียวผัดไข่, เต้าหู้ผัดขิง, ปลากระบอกต้มขมิ้น เป็นต้น
  18. รับประทานยาสมุนไพรรักษากรดไหลย้อน   
  19. พักผ่อนให้เพียงพอ
  20. ออกกำลังกายอย่าสม่ำเสมอ

แต่หากกินยาลดกรดไหลย้อน ไปประมาณ 1 – 2 เดือน แล้วยังไม่หายดี อาการไม่ดีขึ้นเลย หรือ เป็นกรดไหลย้อนเรื้อรัง ระยะที่ 3 จำเป็นต้องพบแพทย์ร่วมด้วย เพราะบางทีอาจเกิดโรคแทรกซ้อน ตามที่เรากล่าวไปข้างต้นได้ บางรายเป็นหนัก อาจจำเป็นต้องใช้วิธีรักษาโรคกรดไหลย้อนด้วยการผ่าตัดร่วมด้วย

รักษากรดไหลย้อนเบื้องต้น ด้วยยาสมุนไพรรักษากรดไหลย้อน

ด้วยการรักษาตามแบบฉบับแพทย์แผนไทย ที่ได้รับความนิยมมานานแสนนาน และได้รับการยอมรับจากวงการแพทย์ทั่วโลก จึงทำให้วิธีการรักษาโรคกรดไหลย้อน ด้วยการรับประทานยาสมุนไพรรักษากรดไหลย้อน ได้รับความนิยมไม่แพ้กัน ด้วยสารสกัดจากสมุนไพรธรรมชาติ จึงเป็นเครื่องการันตีถึงความปลอดภัย ไร้สารเคมี ที่จะไม่ส่งผลให้เกิดสารตกค้างในร่างกาย แตกต่างจากยาลดกรดแผนปัจจุบัน ที่เป็นสารสังเคราะห์ มีหน้าที่แค่ไปยับยั้งเซลล์ที่หลั่งกรด เวลาทานเข้าไปอาจรู้สึกดีแค่ชั่วคราว แต่ต้นเหตุของโรคกรดไหลย้อน ยังไม่ได้ถูกแก้ไข และทำให้กลับมาเป็นซ้ำได้ เพราะเซลล์โดนยาเคมีกดบังคับอยู่นาน

แต่สารสกัดของยาสมุนไพรรักษากรดไหลย้อน ที่ปรุงเป็นสูตรตำรับที่ลงตัวแล้ว จะไปแก้ไขที่ต้นเหตุของกรดไหลย้อน ทำให้ระบบย่อยอาหาร ลม น้ำดี ตับ ลำไส้ ฯลฯ ได้รับการรักษาและดูแลอย่างลงลึก ละเอียดอ่อน ทำให้ระบบย่อยอาหารแข็งแรง ไม่กลับมาเป็นซ้ำง่าย เนื่องจากถูกไล่ลม ขับแก๊ส ลำไส้แข็งแรง หูรูดอาหารถูกสมานเป็นอย่างดี โอกาสในการเกิดกรดไหลย้อนจึงเป็นไปได้ยาก ซึ่งยาสมุนไพรรักษากรดไหลย้อน หมออรรถวุฒิ เป็นหนึ่งในแบรนด์ยาสมุนไพร ที่เป็นสูตรตำรับเฉพาะ ได้รับความนิยมมายาวนาน มากกว่า 30 ปี ด้วยสารสกัดเข้มข้น จากสมุนไพรธรรมชาติ 100% ที่มีประสิทธิภาพในการรักษาอาการกรดไหลย้อน แสบคอ คออักเสบ แผลในหลอดอาหาร ลดอาการกรดเกิน ไล่ลม ขับลม สมานแผลในกระเพาะอาหาร และ หลอดอาหาร ให้กลับมาดีดังเดิม พร้อมการการันตีด้วยผลวิจัยทางการแพทย์ มาตรฐานการผลิต GMP และมี อย. รองรับ แก้ไขทุกต้นเหตุของอาการกรดไหลย้อน รักษาลงลึก ละเอียด ทำให้หายระยะยาว แตกต่างจากยาทั่วไป ด้วย 2 ตัวยาคุณภาพ ได้แก่

1. ยาจตุรธาตุ

ยาจตุรธาตุ หมออรรถวุฒิ
แก้ปัญหากรดไหลย้อน แสบคอ ฟื้นฟูระบบย่อยอาหาร 
ด้วยสกัดสมุนไพรธรรมชาติ 100%
เห็นผลชัด แตกต่างจากยาทั่วไป ดีขึ้นระยะยาว
รักษาอาการกรดไหลย้อน ถึงต้นเหตุ ลึก ละเอียด 
แก้อาการกรดไหลย้อน แสบกลางอก จุก เสียด แน่น เรอเปรี้ยว
	ปิดหูรูดหลอดอาหารให้เป็นปกติ 
รักษาและสมานแผลกระเพาะอาหาร ด้วยกลไกพิเศษ  
ปรับสมดุลขับถ่าย 
ระบบทางเดินอาหารดีขึ้น 
ผนังกระเพาะแข็งแรง

ไม่ว่าคุณจะเป็นกรดไหลย้อนบ่อยแค่ไหน มีอาการกรดไหลย้อน ระยะที่เท่าไหร่ “ยาจตุรธาตุ” สูตรตำรับเฉพาะ ของศูนย์แพทย์แผนไทยหมออรรถวุฒิ สามารถดูแลอาการของคุณให้ดีขึ้นได้ ด้วยสารสกัดจากสมุนไพรลดกรดไหลย้อน มากกว่า 26 ชนิด เช่น

  • สารสกัดจากสมอทั้ง 5 ได้แก่ สมอไทย สมอเทศ สมอพิเภก สมอดีงู สมอทะเล
  • มะตูมอ่อนสกัด
  • ขมิ้นชันสกัด
  • มะขามป้อมสกัด
  • มะเขือพวงสกัด
  • สะค้าน ชะพลูสกัด 
  • โกศน้ำเต้าสกัด ฯลฯ

โดยยาจตุรธาตุ มีประสิทธิภาพในการปิดหูรูดหลอดอาหารให้เป็นปกติ ซึ่งเป็นการรักษาถึงต้นเหตุของอาการกรดไหลย้อน แก้ปัญหาแสบกลางอก เรอเปรี้ยว ขมคอ จุก เสียด แน่น ส่งผลให้ระบบย่อยอาหารดีขึ้น หากใครเป็นแผลหลอดอาหาร หลอดอาหารอักเสบ จากโรคแทรกซ้อนของกรดไหลย้อน ก็จะดีขึ้นตามลำดับ เพราะสารสกัดสมุนไพรเข้มข้นของยาจตุรธาตุ จะทำหน้าที่รักษาและสมานแผล ด้วยกลไกพิเศษ มีการกระตุ้นการสร้างเมือกมาหุ้มกระเพาะ ทำให้ผนังกระเพาะอาหารแข็งแรง ดีต่อสุขภาพระยะยาว ทำให้ไม่กลับมาเป็นกรดไหลย้อนได้ง่ายๆ

2. ยาวาโยพินาศ

ไร้กังวลกับอาการกรดไหลย้อน แสบคอ
ยาสมุนไพรวาโยพินาศ หมออรรถวุฒิ
ขับลม ไล่ลม ต้นเหตุของกรดไหลย้อน
เลิก! จุก เสียด แน่น แสบกลางอก
ด้วยสารสกัดสมุนไพร 100% มากกว่า 39 ชนิด

อาการกรดไหลย้อน แสบคอ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องไล่ลม ขับลม ที่อยู่ในกระเพาะ อย่างลงลึก ซึ่ง “ยาวาโยพินาศ” เป็นยาสมุนไพรรักษากรดไหลย้อน ที่เราแนะนำให้ทานคู่กับยาจตุรธาตุ เพื่อให้เห็นผลการรักษาอาการกรดไหลย้อน ให้ดีขึ้นไว ด้วยประสิทธิภาพของสารสกัดจากสมุนไพร ที่ช่วยช่วยขับลม ไล่ลม ลมพันลำไส้ ลมตีขึ้นเบื้องสูง จุก เสียด แน่นท้อง ลดเกินในกระเพาะ และ กรดไหลย้อนได้เป็นอย่างดี อุดมไปด้วยสารสกัดจากสมุนไพรธรรมชาติ 100% มากกว่า 39 ชนิด เช่น

  • เจ็ตมูลเพลิงสกัด
  • ไพลสกัด
  • ลูกกระวานสกัด
  • ดีปลีสกัด
  • โป๊ยกักสกัด
  • กระเพราแดงสกัด
  • อบเชยเทศสกัด
  • หัวเปราะหอมสกัด ฯลฯ

ซึ่งสารสกัดทั้งหมดนี้ จะช่วยรักษา ป้องกันอาการกรดไหลย้อน และ โรคแทรกซ้อนต่างๆ ที่เกิดจากอาการกรดไหลย้อน ให้ดีขึ้นได้ ไม่ต้องเป็นกังวลใจกับการใช้ชีวิต สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่นี่


แชร์ได้เลยค่ะ

Leave a Comment

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

Scroll to Top