สิวไม่มีหัว รักษาไม่ยาก หากรู้สิ่งนี้!

สิวไม่มีหัว รักษาไม่ยาก หากรู้สิ่งนี้!

แชร์ได้เลยค่ะ

สิวไม่มีหัว คือ สิวอักเสบ ที่มีลักษณะเป็นตุ่ม นูน แดง เป็นก้อนไตแข็ง ๆ อยู่ข้างใน สิวไม่มีหัว มีทั้งเม็ดเล็ก เม็ดใหญ่ ระดับความเจ็บ ก็มีทั้ง ไม่รู้สึกเจ็บเลย ไปจนถึง เจ็บมาก พอสิวไม่มีหัว ขึ้นอยู่บนใบหน้า ก็มักหายช้าด้วย ยิ่งถ้าไม่รู้ว่า สิว ไม่ มี หัว นูนๆ รักษา ยัง ไง ไปรักษาแบบผิดวิธี ก็มีโอกาสที่สิวไม่มีหัว อักเสบหนัก มากขึ้น ดังนั้นอย่าปล่อยให้สิวไม่มีหัว มาทำลายความมั่นใจ เรามาทำความรู้จักกับสิวไม่มีหัว ให้มากขึ้นกันดีกว่า รวมไปถึงเป็นสิวไม่มีหัว รักษาแบบไหน ถึงจะหาย กลับมาเป็นซ้ำได้ยาก ค้นหาคำตอบได้ ที่นี่

สิวไม่มีหัว รักษาได้ แต่ต้องใช้เวลา ส่วนใหญ่ประมาณ 2 - 6 สัปดาห์

สิวไม่มีหัว รักษาด้วยการกดสิว ได้ไหม?

ถาม : สิวไม่มีหัว รักษาด้วยการกดสิว ได้ไหม?
ตอบ : ไม่ได้ ห้ามกดสิว หรือ บีบสิวเด็ดขาด เพราะสิวไม่มีหัวอยู่ลึก หากกดสิว บีบสิว จะยิ่งกระตุ้น ให้สิวไม่มีหัว อักเสบ หนักกว่าเดิม สิ่งสกปรกเข้าผ่านผิวได้ง่าย

สิวไม่มีหัว เป็นสิวอักเสบชนิดหนึ่ง เกิดจากความผิดปกติของรูขุมขน และ ต่อมไขมัน โดยมีการอุดตันของไขมัน ที่ไหลลงสู่ผิวหนังชั้นลึก ทำให้พบเป็นสิวตุ่ม นูน แดง และบางรายอาจพบถุงซีสต์ อยู่ภายในสิวด้วย นอกจากนี้ สิวไม่มีหัว สามารถเกิดจากปัจจัยอื่น ๆ ได้อีก เช่น

  • การอุดตันของสิ่งสกปรก จนทำให้รูขุมขนอุดตัน
  • การอุดตันของเซลล์ผิวหนัง ที่ตายแล้ว  
  • การอุดตันของเครื่องสำอาง เพราะล้างหน้าไม่สะอาด
  • การสะสมของเชื้อแบคทีเรีย ในผิวหนัง และ เนื้อเยื่อ
  • การเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมน เช่น ช่วงก่อนมีประจำเดือน ความเครียดสะสม
  • พันธุกรรม 
  • การใช้ยาบางชนิด 
  • มลภาวะทางอากาศ
  • การสูบบุหรี่
  • แพ้ผลิตภัณฑ์บำรุงผิว แชมพู เครื่องสำอาง

ทั้งนี้ สิวไม่มีหัว รักษาได้ แต่ห้ามกดสิว หรือ บีบสิวเด็ดขาด เพราะสิวไม่มีหัว เป็นสิวที่อยู่ลึก หากกดสิว หรือ บีบสิว จะยิ่งเป็นการกระตุ้น ให้สิวไม่มีหัว อักเสบ หนักกว่าเดิม และ ทำให้สิ่งสกปรกเข้าผ่านผิวได้ง่ายขึ้น

สิว ไม่ มี หัว นูนๆ รักษา ยัง ไง

สิว ไม่ มี หัว นูนๆ รักษา ยัง ไง
ล้างหน้าให้สะอาด
ใช้ยารักษาสิว
ใช้ยาฉีดสิว
ทำเลเซอร์รักษา สิว อักเสบ ไม่มี หัว
ใช้มอยเจอร์ไรเซอร์ ที่เหมาะกับผิวเป็นสิวโดยเฉพาะ
สระผมเป็นประจำ 
เลือกใช้ผลิตภัณฑ์บำรุงผม ที่ปราศจากซิลิโคน พาราเบน น้ำมัน และ สารเคมีที่ก่อให้เกิดสิว 
ไม่ขัดถูหน้าแรง 
ไม่เอามือจับสิวไม่มีหัว เพื่อป้องกันการอักเสบ
ดื่มน้ำให้เพียงพอ 
ซักเครื่องนอนทุกสัปดาห์ 
เลี่ยงแสงแดด ฝุ่น ควัน 
พักผ่อนให้เพียงพอ 
งดแต่งหน้า 
ทำความสะอาด อุปกรณ์แต่งหน้า 
งดสูบบุหรี่  
งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
ทานผัก ผลไม้ 
หลีกเลี่ยงของมัน ของทอด อาหารไขมันสูง น้ำตาลสูง

ถาม : สิว ไม่ มี หัว นูนๆ รักษา ยัง ไง

ตอบ : สิวไม่มีหัว รักษาได้หลายวิธี ที่นิยมใช้กัน มีดังนี้

ล้างหน้าให้สะอาด

การล้างหน้าให้สะอาด คือ การป้องกัน และ รักษา สิว อักเสบ ไม่มี หัว ขั้นพื้นฐาน เริ่มตั้งแต่ขั้นตอนการเช็ดเครื่องสำอางให้หมดจรด ไปจนถึง การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ล้างหน้า ชนิดสูตรอ่อนโยน ปราศจากแอลกอฮอล์ น้ำหอม น้ำมัน ตรงน้ำมัน แก้เป็น  mineral oil (น้ำมันที่เหลือจากกระบวนการ ปิโตเลียม ส่งผลเสียต่อผิวร้ายแรง) SLS พาราเบน สีสังเคราะห์ สเตียรอยด์ สารต้องห้ามต่าง ๆ ไม่มีเม็ดสครับ และ ต้องเป็นสูตรที่ไม่ทำให้ผิวแห้งตึง เพราะหากผิวแห้งตึงเกินไป จะเป็นการกระตุ้นให้ต่อมไขมัน ให้ผลิตไขมันออกมา มากกว่าเดิม เกิดความมันบนใบหน้า และ สิวไม่หายด้วย

ใช้ยารักษาสิว

สิวไม่มีหัว รักษาด้วยการใช้ยารักษาสิวได้ แต่ต้องเข้าใจก่อนว่า สิวไม่มีหัว ค่อนข้างหายยาก การรักษาด้วยการใช้ยา อาจต้องใช้ยาหลายชนิด ควบคู่กันไป ทั้งยากิน และ ยาทา แล้วจำเป็นต้องปรึกษาแพทย์ผิวหนัง หรือ เภสัชกรก่อน เพราะบางตัวอันตราย มีข้อบ่งใช้จำกัด ทั้งนี้ยารักษา สิว อักเสบ ไม่มี หัว ที่นิยมใช้กัน เช่น 

  • ยาปฏิชีวนะ ชนิดรับประทาน ที่ช่วยยับยั้งการเจริญเติบโต ของเชื้อแบคทีเรีย ลดการอักเสบ เช่น Clindamycin, Tetracycline, Doxycycline, Erythromycin เป็นต้น
  • ยาในกลุ่มกรดวิตามินเอ ชนิดรับประทาน Isotretinoin หรือ Retinoic acid เช่น Roaccutane, Acnotin, Sotret, Isotane เป็นต้น
  • ยากลุ่มวิตามินเอ ชนิดทา เช่น Tretinoin ช่วยในเรื่องการอุดตันของรูขุมขน ช่วยกำจัดเซลล์ผิวที่ตายแล้ว ไม่ให้ไปอุดตันในรูขุมขน ช่วยยับยั้งการหลั่งสารอักเสบ เพื่อลดสิวอักเสบ เป็นต้น

ใช้ยาฉีดสิว

การฉีดสิว เป็นหนึ่งในวิธีรักษา สิว อักเสบ ไม่มี หัว ที่นิยมเช่นกัน เพราะเห็นผลไว โดยยาที่ฉีด เป็นยาคอร์ติโซน หรือ ยาสเตียรอยด์ เช่น ไตรแอมซิโนโลน (Triamcinolone) การฉีดสิว คือ การฉีดยาเข้าไปในสิว หรือ ใต้ผิวหนัง เพื่อให้สิวไม่มีหัว อักเสบน้อยลง ลดอาการบวม แดง ของสิว ทำให้สิวที่นูน ยุบตัวลง ซึ่งเหมาะกับคนที่เป็นสิวไม่มีหัว รักษาด้วยการทายาไม่หาย หรือ สิวไม่มีหัว อักเสบมาก เจ็บมาก มีซีสต์ มีหนองอักเสบใต้ผิวหนัง

ใช้เลเซอร์รักษา สิว อักเสบ ไม่มี หัว

สิวไม่มีหัว รักษาด้วยการทำเลเซอร์ ได้เช่นกัน ซึ่งเหมาะสำหรับผู้ที่สิวไม่มีหัว ขึ้นบ่อย ๆ หรือ ขึ้นจำนวนมาก โปรแกรมเลเซอร์ที่นิยมใช้กัน เช่น V Beam, Pico Laser เป็นต้น โดยแสงเลเซอร์จะเข้าไปฆ่าเชื้อสิว ช่วยสิวไม่มีหัว อักเสบน้อยลง ช่วยลดรอยแดง รอยดำ รอยแผลเป็นจากสิวได้ด้วย

ใช้มอยเจอร์ไรเซอร์ ที่เหมาะกับผิวเป็นสิวโดยเฉพาะ

ไม่ว่าคุณจะใช้ยาทารักษาสิว ใช้วิธีเลเซอร์ หรือการกินยา การรักษาสิวไม่มีหัว ที่สำคัญอีกอย่าง ที่ต้องทำไปพร้อม ๆ กัน คือ การใช้มอยเจอร์ไรเซอร์บำรุงผิว นั่นเอง เพราะหากแต้มยารักษาสิว หรือ ทานยารักษาสิวเข้าไป ผิวหน้าอาจเกิดการแดง แห้ง และ ลอกได้ ดังนั้นการใช้มอยเจอร์ไรเซอร์ จึงเป็นสิ่งสำคัญ เพื่อคงความชุ่มชื้นให้กับผิว ทั้งนี้ต้องเลือกมอยเจอร์ไรเซอร์สูตรที่เหมาะกับผิวเป็นสิวโดยเฉพาะ ไม่มีส่วนผสมของน้ำมัน ซิลิโคน และ น้ำหอม (Fragrance) เพื่อป้องกันน้ำมันอุดตันในรูขุมขน

นอกจากนี้ การรักษา สิว อักเสบ ไม่มี หัว ยังจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนไลฟ์สไตล์ในชีวิตประจำวัน เพื่อให้สิวไม่มีหัว รักษาได้สำเร็จไวยิ่งขึ้น สิวยุบเร็วขึ้น ด้วยวิธีดังต่อไปนี้

  • สระผมเป็นประจำ เพื่อไม่ให้สิ่งสกปรกบนเส้นผม สัมผัสกับใบหน้า 
  • เลือกใช้แชมพู ครีมนวด ผลิตภัณฑ์บำรุงผม ที่ปราศจากซิลิโคน พาราเบน น้ำมัน และ สารเคมีที่ก่อให้เกิดสิว 
  • ไม่ขัด หรือ ถูหน้าแรง เพื่อป้องกันสิวไม่มีหัว อักเสบ 
  • ไม่เอามือสัมผัสใบหน้า หรือ จับสิวไม่มีหัว เพื่อป้องกันการอักเสบ
  • ดื่มน้ำให้เพียงพอ อย่างน้อย 8 แก้วต่อวัน เพื่อให้ผิวชุ่มชื้น
  • ซักเครื่องนอนทุกสัปดาห์ เพื่อไม่ให้เป็นการสะสมของไรฝุ่น คราบน้ำลาย เชื้อโรคต่าง ๆ
  • หลีกเลี่ยงแสงแดด ฝุ่น ควัน มลภาวะ 
  • พักผ่อนให้เพียงพอ เพื่อให้ผิวได้รับการฟื้นฟู และสิวไม่มีหัว จะได้ยุบไวขึ้น
  • งดแต่งหน้า เพื่อป้องกันเครื่องสำอาง อุดตันในรูขุมขน และ กระตุ้นให้สิวไม่มีหัว อักเสบมากขึ้นกว่าเดิม
  • ทำความสะอาด อุปกรณ์แต่งหน้า สัปดาห์ละครั้ง เพื่อไม่ให้เป็นแหล่งสะสม ของเชื้อแบคทีเรีย 
  • งดสูบบุหรี่  
  • งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
  • ทานอาหารที่เป็นประโยชน์ โดยเฉพาะผัก ผลไม้ เพื่อให้ระบบขับถ่ายดี ของเสียจะได้ไม่สะสมในร่างกาย
  • หลีกเลี่ยงของมัน ของทอด อาหารที่มีไขมันสูง น้ำตาลสูง

เมื่อทราบแล้วว่า สิว ไม่ มี หัว นูนๆ รักษา ยัง ไง ก็อย่าลืมนำวิธีที่เราแนะนำ ไปใช้กันนะ รับรองว่าดีขึ้นอย่างแน่นอน

ข้อควรระวัง ในการรักษา สิว อักเสบ ไม่มี หัว

แม้ว่า สิวไม่มีหัว รักษาได้หลายวิธี แต่ก็มีข้อควรระวัง ในการรักษา ที่ทุกคนควรรู้ เช่น

  • ยารักษาสิว ชนิดรับประทาน ที่เป็นยาเคมี ถือเป็นยาอันตราย แม้ว่าหาซื้อได้ง่าย แต่ก็ควรอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์ หรือ เภสัชกร 
  • สิวไม่มีหัว รักษาด้วยการทานยาได้จริง แต่การทานยาติดต่อกันนาน ไม่ได้ทำให้สิวหายขาดได้ และเกิดสารสังเคราะห์ สะสมในร่างกาย ส่งผลเสียต่อตับ ไต ความดัน กระดูกพรุน ฯลฯ
  • ผู้ที่ตั้งครรภ์ ไม่สามารถทานยารักษาสิว หรือ ใช้ยารักษาสิว ชนิดทาได้ เพราะอันตราย และ เสี่ยงต่อบุตรพิการ
  • หากทานยารักษาสิว จำเป็นต้องคุมกำเนิด หากต้องการมีบุตร ต้องวางแผนการบุตรให้ดี ซึ่งต้องเว้นระยะการมีบุตรหลังจากหยุดยา อย่างน้อย 3 เดือน ถึง 1 ปี เพราะเสี่ยงต่อบุตรพิการได้ 
  • ยารักษาสิว ชนิดรับประทาน ที่เป็นยาเคมี มีผลข้างเคียง เช่น ปากแห้ง ผิวแห้ง ผิวลอก ตาแห้ง 
  • ยาแต้มสิวบางชนิด อาจทำให้เกิดการระคายเคือง จากการใช้ยาได้
  • ยาแต้มสิว เมื่อใช้ไปสักระยะ ผิวจะชิน และกลายเป็นดื้อยาได้ หากหยุดใช้ยา ก็อาจมีโอกาส สิวเห่อมากกว่าเดิม
  • การฉีดสิว อาจทิ้งรอยบุ๋มไว้ได้ และ หากมีเส้นเลือดอยู่ใต้สิว เมื่อฉีดสิวไปแล้ว จะเกิดเลือดออก ทิ้งรอยช้ำเอาไว้
  • หากใช้ยาฉีดสิว มากเกินไป อาจทำให้เกิดผลข้างเคียง เช่น เป็นสิวง่ายกว่าเดิม อาจทำให้เกิดไตแข็ง ๆ ใต้ผิวหนัง
  • สเตียรอยด์ในยาฉีดสิว มีหน้าที่แค่ยับยั้งการทำงานของเชื้อแบคทีเรีย ไม่ได้ฆ่าเชื้อแบคทีเรียให้ตาย ดังนั้นมีโอกาส ที่สิวจะยุบไม่หมด หรือ มีโอกาสที่สิวจะขึ้นใหม่ได้  

หากเป็นสิวไม่มีหัว รักษาด้วยการเลเซอร์ ไม่ได้ทำให้สิวหายขาด และ อาจมีผลทำให้ใบหน้าบอบบาง หน้าไวต่อแสงแดด

สิวไม่มีหัว รักษา และ ป้องกัน ไม่ให้สิว ขึ้นซ้ำใหม่ง่าย ด้วยสิ่งนี้

รู้หรือไม่? สิวไม่มีหัว รักษาด้วยธรรมชาติได้ “ธรรมชาติ” ที่เราหมายถึงก็คือ การทานยา สมุนไพร รักษา สิว ที่สกัดจากสมุนไพรธรรมชาติ 100% นั่นเอง เหตุผลที่เราแนะนำ ให้ทานยาสมุนไพร ก็เพราะว่า การทานยาที่สกัดจากสมุนไพร ก็เปรียบเสมือนการนำอาหารที่มีประโยชน์ เข้าสู่ร่างกาย ยิ่งได้สกัดมาเป็นยา ในสัดส่วนที่เหมาะสม นอกจากเห็นผลในการรักษาด้วยแล้ว ยังดีต่อสุขภาพภายในระยะยาว และ เห็นผลออกสู่ภายนอกด้วย

ต้องบอกก่อนเลยว่า ยา สมุนไพร รักษา สิว ไม่ได้ทำให้สิวยุบไว ยุบทันที ทันใจ แต่ข้อดีคือ ทำให้สิวหายได้ และ ไม่กลับมาขึ้นใหม่ได้ง่าย ๆ อีกด้วย เพราะระบบภายในร่างกาย ถูกปรับให้สมดุล ของเสียที่หมักหมม สะสมในร่างกาย ถูกขับออกมาหมด สิวจึงยุบ กลับมาขึ้นซ้ำได้ยากสามารถทานต่อเนื่องได้ ไม่ต้องกังวลกับการดื้อยา ภายหลังหยุดยา เหมือนยาเคมี ที่ทานไปนาน ๆ ตัวยาจะไปกดเซลล์เอาไว้ พอหยุดทานยา หรือ ใช้ยา สิวก็อาจเห่อ ขึ้นมาได้  ที่สำคัญ เราไม่เสี่ยงกับการทายารักษาสิว ที่อาจทำให้ผิวหน้าของเราติดสาร เพียงแค่เราทานยาสมุนไพร ไปพร้อม ๆ กับการทำความสะอาดหน้าให้ดี หลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่ทำให้เกิดสิว ตามที่เราแนะนำ ก็เพียงพอแล้ว

สิวไม่มีหัว รักษาหาย! ไม่กลับมาขึ้นซ้ำใหม่ง่าย ด้วยตรีผลา หมออรรถวุฒิ สกัดสมุนไพร 100% ปลอดภัย ไร้สเตียรอยด์
ยิ่งทาน ยิ่งผิวดี

หากคุณเป็นสิว ไม่ว่าจะสิวผด สิวผื่น สิวอุดตัน สิวอักเสบ สิวไม่มีหัว รักษามาหลายวิธี สิวก็ยังกลับมาขึ้นซ้ำง่าย หรือ อยากลองทานยาสมุนไพรดู ยาสมุนไพร รักษา สิว “ตรีผลา” จากศูนย์แพทย์แผนไทย หมออรรถวุฒิ เป็นยาสมุนไพร ที่เราแนะนำ เพราะได้รับการขึ้นทะเบียนเป็น “ยา” แสดงถึงประสิทธิภาพ ในการปรับปรุง ฟื้นฟู ระบบภายในร่างกาย ตับ ลำไส้ เลือดลม ระบบน้ำเหลือง ทำให้สิว ดีขึ้นได้ อยู่ภายใต้การควบคุมของแพทย์แผนไทย และ เภสัชร ได้รับการรับรองจาก อย. มีมาตรฐานการผลิต GMP มีผลการวิจัยรองรับทั้งไทย และ ต่างประเทศ  

ยาสมุนไพร รักษา สิว ตรีผลา หมออรรถวุฒิ เป็นสูตรตำรับเฉพาะ หนึ่งเดียว ลิขสิทธิ์หมอออรรถวุฒิ ปราศจากสารสเตียรอยด์ ไม่เป็นอันตราย ทานต่อเนื่อง เพื่อบำรุงระบบภายในและผิวได้ เพราะสกัดจากสมุนไพร รักษา สิว ออแกนิค 100% หลายชนิด เช่น

  • สารสกัดสมอทั้ง 5 ได้แก่ สมอไทย สมอพิเภก สมอเทศ สมอดีงู สมอทะเล
  • มะขามป้อมสกัด
  • ฝางสกัด
  • ดอกคำฝอยสกัด
  • ชะเอมเทศสกัด
  • ขมิ้นอ้อยสกัด
  • ขมิ้นชันสกัด ฯลฯ

โดยสารสกัดที่กล่าวมานี้ จะช่วยเคลียร์ของเสียสะสมในร่างกาย ทั้งตับ ไต ลำไส้ น้ำเหลืองเสีย เมือกมัน ตะกรันในลำไส้  ทำให้สิวยุบ ผิวใส เด้ง เต่งตึง มีออร่า ช่วยสร้างคอลลาเจน ทำให้หลุมสิวตื้นขึ้น ผิวเรียบเนียนขึ้น รอยดำ รอยแดง ที่เกิดจากสิว รวมถึงรอยแผลเป็น ค่อย ๆ จางลง ช่วยต้านอนุมูลอิสระ ชะลอวัย ปรับสมดุลขับถ่าย โดยไม่ทำให้ท้องเสีย เป็นยาอายุวัฒนะ ช่วยทำให้ระบบไหลเวียนโลหิตดีขึ้น ฯลฯ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่นี่

หากมีข้อสงสัยใด ๆ เพิ่มเติม สามารถคอมเม้นท์สอบถามได้ เรามีเภสัชกร และ ผู้เชี่ยวชาญ คอยให้คำปรึกษา ทุกปัญหาสุขภาพ


แชร์ได้เลยค่ะ

Leave a Comment

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

Scroll to Top