ไขมันพอกตับอันตรายไหม? ทำไมคนไทยถึงเป็นจำนวนมาก

ไขมันพอกตับอันตรายไหม? ทำไมคนไทยถึงเป็นจำนวนมาก

แชร์ได้เลยค่ะ

ไขมันพอกตับอันตรายไหม? หลายคนคงข้องใจ กับคำถามนี้อยู่ ก่อนอื่นเรามารู้จักโรคนี้กันก่อนดีกว่า ว่ามันเป็นอย่างไร

ไขมันพอกตับ (Fatty Liver Disease) คือ การมีไขมัน สะสมอยู่ในตับ เกินค่ามาตรฐาน หรือเกิน 5 – 10% ของน้ำหนักตับนั่นเอง ซึ่งคนส่วนใหญ่มักไม่รู้ ว่าตัวเองป่วยเป็นโรคนี้อยู่ และ อาการไขมันพอกตับ ก็ไม่ได้แสดงออกมาอย่างชัดเจนด้วย หากอยากรู้ว่าป่วย หรือ ไม่ ต้องตรวจสุขภาพ หรือ ตรวจเลือดเท่านั้น

ถาม : ไขมันพอกตับอันตรายไหมถ้าไม่รักษา
ตอบ : ถ้าไม่รักษาจะอันตรายมาก เพราะทำให้เป็นตับแข็งและมะเร็งตับได้

ไขมันพอกตับอันตรายไหม อาการไขมันพอกตับ เป็นอย่างไร?

หากถามว่า ไขมันพอกตับอันตรายไหม ขอตอบตรงนี้เลยว่า “ไม่อันตราย หากตรวจเจอในระยะแรกเริ่ม” เพราะไขมันพอกตับ แบ่งระยะของโรค ออกเป็น 4 ระยะ หากไม่รีบตรวจไขมันพอกตับ ตรวจเลือดหาให้เจอ และ ไม่รีบทำการรักษา ระยะสุดท้ายของไขมันพอกตับ จะถูกพัฒนาไปเป็นโรคตับแข็ง และ มะเร็งตับนั่นเอง โดย ระยะไขมันพอกตับ แบ่งเป็น 4 ระยะ ดังนี้

อาการไขมันพอกตับ แบ่งออกเป็น 4 ระยะ
  • ระยะที่ 1 เป็นระยะไม่อันตราย สามารถรักษาได้ง่ายที่สุด ซึ่งน้อยคนจะรู้ว่า ตัวเองเป็นโรคไขมันพอกตับระยะนี้ เพราะ อาการไขมันพอกตับ ในระยะนี้ จะแสดงออกมาแค่ความรู้สึกอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย เบื่ออาหาร ปัสสาวะเหลือง ปวดเมื่อยตามตัว เป็นต้น ซึ่งดูๆ แล้ว ก็ไม่ได้เหมือนคนป่วยใช่ไหมล่ะ? แต่จริงๆ แล้วระยะนี้คือการมีไขมันสะสมอยู่ภายในตับ เกิน 5 – 10% แล้ว
  • ระยะที่ 2 เริ่มเข้าสู่การเป็นโรคตับอักเสบแล้ว ถือว่าเป็นระยะอันตราย แต่ยังไม่อันตรายมาก หากไปโรงพยาบาล แล้วทำการตรวจไขมันพอกตับ ตรวจเลือดเจอ แล้วทำการรักษาภายใน 6 เดือน ก็จะดีขึ้น แต่หากไม่รักษา ก็จะกลายเป็นโรคตับอักเสบเรื้อรังได้ โดยผู้ป่วยจะรู้สึกอ่อนเพลีย ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อตลอดเวลา มีไข้สูงเกิน 38 องศาเซลเซียส ตัวเหลือง ตาเหลือง หรือ เป็นดีซ่าน น้ำหนักตัวลดลง โดยไม่ทราบสาเหตุ

หากปล่อยให้อาการเข้าสู่ระยะที่ 3 และ 4 ถือว่าอันตรายมาก!

  • ระยะที่ 3 เข้าสู่ระยะอันตราย เพราะกลายเป็นโรคตับอักเสบเรื้อรัง เกิดพังพืดที่ตับ เซลล์เนื้อเยื่อของตับถูกทำลาย นอกจากนี้ ผู้ป่วยจะมีอาการเหมือนคนเป็นโรคตับอักเสบทุกอย่าง แต่จะมีอุจจาระปนเลือด อาเจียนเป็นเลือด ข้อมือ ข้อเท้าบวม เนื่องจากตับไม่สามารถทำงานได้อย่างเต็มที่ และ ไม่สามารถกำจัดสารพิษ ในร่างกายได้นั่นเอง
  • ระยะที่ 4 เป็นระยะที่อันตรายที่สุดเพราะ ถูกพัฒนามาเป็นโรคตับแข็ง ไม่สามารถรักษาได้ แต่สามารถประคับประคองอาการ ไม่ให้ร้ายแรง จนกลายเป็นโรคมะเร็งตับได้ แต่หากไม่ได้รับการรักษา อย่างถูกวิธี และ รวดเร็วมาตั้งแต่ต้น ก็อาจลามไปถึงขั้นเป็นโรคมะเร็งตับได้นั่นเอง

ทำไมคนไทยถึงเป็นโรคไขมันพอกตับจำนวนมาก

ทำไมคนไทยถึงเป็นโรคไขมันพอกตับจำนวนมาก

ปัจจุบันโรคไขมันพอกตับ เป็นโรคตับเรื้อรัง ที่พบบ่อยสุดในประเทศไทยมิใช่แค่ผู้ใหญ่เท่านั้น แต่เด็กที่มีน้ำหนักปกติ ก็พบว่า เป็นไขมันพอกตับเพิ่มขึ้น จากเดิมร้อยละ 2.6 เพิ่มเป็นร้อยละ 5 ในเด็กอ้วนร้อยละ 38 และ ในเด็กอ้วนที่เป็นโรคเบาหวานร้อยละ 48  นอกจากนี้ผู้ที่โรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ยังเสี่ยงต่อการเกิดไขมันพอกตับ ได้ร้อยละ 90 อีกด้วย (ที่มา : https://www.thaihealth.or.th) โดย สาเหตุไขมันพอกตับ หลักๆ มีอยู่ 2 สาเหตุ ได้แก่

1. โรคไขมันพอกตับ ที่เกิดจากการดื่มแอลกอฮอล์ (Alcohol-related Fatty Liver Disease) โดยผู้ที่สุ่มเสี่ยงในกลุ่มนี้คือ ผู้ที่ดื่มแอลกอฮอล์จำนวนมาก ติดต่อกันหลายปี นอกจากจะเสี่ยงเป็นโรคไขมันพอกตับแล้ว ยังเสี่ยงเป็นโรคตับแข็งได้มากขึ้นอีกด้วย

2. โรคไขมันพอกตับ ที่ไม่ได้เกิดจากการดื่มแอลกอฮอล์ (Non-alcoholic Fatty Liver Disease)แต่เกิดจากพฤติกรรมการกินอาหาร และ โรคอื่นๆ เช่น

– รับประทานอาหารที่มีรสจัด และ มีปริมาณไขมันมากเกินไป ซึ่งอาหารไทยมีรสจัดอยู่แล้ว ไม่ว่าจะเป็น รสหวานจัด รสเค็มจัด ต่างก็เสี่ยงต่อการเป็นโรคไขมันพอกตับได้
– ดื่มน้ำอัดลม หรือ น้ำผลไม้ที่มีน้ำตาลสูงเป็นประจำ
– รับประทานของทอด
– รับประทานขนมหวาน ที่มีน้ำตาลฟรุคโตสสูง
– รับประทานยาลดน้ำหนัก
– เป็นผู้ที่ป่วยโรคเบาหวาน โรคอ้วน โรคความดันโลหิตสูง ฯลฯ


ซึ่งสิ่งเหล่านี้ ล้วนทำให้เกิดความเสี่ยง ต่อการเป็นไขมันพอกตับได้นั่นเอง

คนไทยเป็นโรคไขมันพอกตับจำนวนมากขึ้นทุกปี สาเหตุส่วนใหญ่มาจากการรับประทานอาหารรสจัดและดื่มแอลกอฮอล์

ทราบได้อย่างไรว่าเป็นไขมันพอกตับ

โรคไขมันพอกตับ จำเป็นต้องใช้แพทย์ตรวจเท่านั้น หากเราไม่อยากเป็นกังวล กับคำถามว่า ไขมันพอกตับอันตรายไหม? ก็แค่ไปตรวจสุขภาพเป็นประจำทุกปี ทั้งนี้แพทย์จะทำการตรวจ ด้วยวิธีต่างๆ ตามความเหมาะสม เช่น

1. ตรวจระดับไขมันในเลือด เพื่อดูค่าคอเลสเตอรอล (Cholesterol) และ ไตรกลีเซอไรด์ (Triglyceride)
2. ตรวจเลือด เพื่อดูความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด
3. ตรวจระดับน้ำตาลสะสมในเลือด
4. ตรวจไวรัสตับอักเสบทุกชนิด
5. ตรวจความผิดปกติของตับ ด้วยการอัลตราซาวนด์ (Ultrasound) เอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT Scan) หรือ เอ็กซเรย์ด้วยเรโซแนนซ์แม่เหล็ก (MRI)
6. เจาะเนื้อเยื่อเพื่อตรวจ

มียารักษาไขมันพอกตับไหม

หลังจากที่ตอบคำถามไปแล้วว่า ไขมันพอกตับอันตรายไหม ทีนี้ก็มาถึงเรื่อง ยารักษาไขมันพอกตับ กันบ้าง แม้ว่าเราจะต้องใช้เทคนิคทางการแพทย์ในการตรวจไขมันพอกตับ ตรวจเลือดให้พบโรคนี้ แต่ก็ต้องบอกตรงๆ ว่า ปัจจุบันไม่มียารักษาไขมันพอกตับ ของแพทย์แผนปัจจุบัน ที่รักษาโรคนี้ได้โดยตรง ซึ่งแพทย์จะทำการจ่ายยาในกลุ่มสแตติน (Statins) และ ยาเพิ่มความไวต่ออินซูลิน ให้แทน ซึ่งยากลุ่มนี้เป็นยาที่ใช้รักษาโรคเบาหวาน โรคอ้วน ไขมันในเลือดสูง ภาวะดื้อต่ออินซูลิน เป็นต้น ขึ้นอยู่กับสภาพร่างกาย และ ภาวะของโรคไขมันพอกตับ ในแต่ละคน

ทั้งนี้การรับประทาน ยารักษาไขมันพอกตับ ของแพทย์แผนปัจจุบัน ก็มีความเสี่ยงสูงต่อการแพ้ยา และ สารเคมีตกค้างในร่างกาย แต่หากใครไม่อยากเสี่ยงกับสารเคมี ก็มีวิธีทาน ยารักษาไขมันพอกตับ ให้ได้ผล และ ปลอดภัย 100% นั่นก็คือ การรับประทาน ยาสมุนไพรรักษาโรคไขมันพอกตับนั่นเอง โดยยาสมุนไพรรักษาโรคไขมันพอกตับ ที่เห็นผลชัดที่สุด ในปัจจุบันนี้คือ ยาตรีผลา FORTE โดยหมออรรถวุฒิ

ไม่ต้องเสี่ยงกับการแพ้ยา แค่ทานตรีผลา FORTE สมุนไพรรักษาโรคไขมันพอกตับก็หายได้

ยาตรีผลา FORTE โดยหมออรรถวุฒิ เป็นยาสมุนไพรสกัดธรรมชาติ 100% และ ได้รับการรับรองจาก อย. เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ดังนั้นจึงมั่นใจได้ว่าปลอดภัยอย่างแน่นอน อีกทั้งได้รับการการันตี จากผู้บริโภคจริง มากกว่า 98% ว่าพึงพอใจ เพราะหลังจากรับประทาน ยาสมุนไพรรักษาโรคไขมันพอกตับ ตรีผลา FORTE แล้วไปตรวจกับแพทย์ซ้ำอีกที อาการต่างๆ ดีขึ้น ไขมันในตับลดลง ไขมันในเลือดลดลง ค่าความดันเป็นปกติ คอเลสเตอรอล และ ไตรกรีเซอไรด์ลดลง อย่างเห็นได้ชัดด้วย และ ที่หลายคนถูกอกถูกใจ ก็เพราะว่า นอกจากมีฤทธิ์ในการรักษาแล้ว ยังช่วยบำรุงระบบภายใน ให้ลำไส้สะอาด ลดอาการบวมน้ำ ช่วยเพิ่มการไหลเวียนเลือด ต้านอนุมูลอิสระ และ ชะลอความแก่ได้ดีอีกด้วย

หากมีข้อสงสัยใด ๆ เพิ่มเติม สามารถคอมเมนต์สอบถามได้ เรามีเภสัชกร และ ผู้เชี่ยวชาญ คอยให้คำปรึกษา ทุกปัญหาสุขภาพ


แชร์ได้เลยค่ะ

4 thoughts on “ไขมันพอกตับอันตรายไหม? ทำไมคนไทยถึงเป็นจำนวนมาก”

  1. Pingback: อาการไขมันพอกตับ สู่โรคมะเร็งตับ ไม่ดื่มแอลกอฮอล์ก็เป็นได้

  2. Pingback: ข้อควรรู้ก่อนเข้าสู่ระยะอันตราย ตรวจเจอไขมันพอกตับเร็วยิ่งดี

  3. Pingback: ไขมันพอกตับรักษาได้จริงหรือ?

  4. Pingback: ไขมันพอกตับเกิดจากสาเหตุใด? เป็นแล้วตับแข็งได้จริงหรือ?

Leave a Comment

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

Scroll to Top